Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11941
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวัชรัตน์ เบญจชลมาศ, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T07:16:55Z-
dc.date.available2024-04-18T07:16:55Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11941-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการของคลินิกรักษา สัตว์ในจังหวัดสมุทรปราการ (2) ศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพการบริการของคลินิกรักษาสัตว์ใน จังหวัดสมุทรปราการจำแนกตามปัจจัยบุคคลและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (3) เสนอแนะ การเสริมสร้างคุณภาพการให้บริการของคลินิกรักษาสัตว์ในจังหวัดสมุทรปราการที่เหมาะสม ตอบสนองต่อผู้ใช้บริการ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับคุณภาพการให้บริการคลินิกรักษาสัตว์ในจังหวัด สมุทรปราการโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านความเชื่อถือและไว้วางใจ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ส่วนด้านความสะดวกในการรับบริการ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด (2) เมื่อเปรียบเทียบ คุณภาพการบริการของคลินิกรักษาสัตว์ในจังหวัดสมุทรปราการจำแนกตามปัจจัยบุคคล พบว่า ผู้ใช้บริการคลินิกรักษาสัตว์ที่มีปัจจัยบุคคลในด้าน อายุ สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และ อาชีพ มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.050 เมื่อเปรียบเทียบปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการ คลินิกรักษาสัตว์ในจังหวัดสมุทรปราการ พบว่า ปัจจัยด้าน แพทย์/พยาบาล อยู่ในระดับมาก และมี ค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดได้แก่ ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด และระดับ คุณภาพการให้บริการต่างมีความสัมพันธ์กับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในทุกๆด้าน (3) ควร พัฒนากลยุทธ์การส่งเสริมการตลาดในด้านการโฆษณาประชาสัมพันธ์ การให้ส่วนลดค่าบริการ พิเศษ เน้นโฆษณาประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง และให้ส่วนลดค่าบริการพิเศษเมื่อสมัครสมาชิกเพื่อ รองรับการมาใช้บริการและสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้ใช้บริการมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสัตว์--การรักษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพการให้บริการคลินิกรักษาสัตว์ในจังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeService quality of veterinary clinics in Samut Prakan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study the level of service quality of Veterinary Clinics in Samut Prakan province; (2) to compare the service quality of Veterinary Clinics, classified by personal factor and marketing-mix factor; and (3) to suggest the guideline to enhance service quality in order to meet the customer’s needs. The population in this study consisted of customers who used the service at Veterinary Clinics in Samut Prakan province with uncertain number. Each sample group was from 2 amphors, selected 100 customers from each amphor by using Quota Sampling. A constructed questionnaire was used as a tool to collect data. The statistics employed for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test and One-way Analysis of Variance and Least Significant Difference. The results revealed that: (1) the level of service quality was overall at a high level. As for each aspect, at the highest level was trust and the least was convenience for service; (2) customers with different ages, marriage status, incomes per month, and careers had different opinions toward the service quality, with a statistical significance at 0.05 level. Comparing with marketing-mix factor related to the service quality at Veterinary Clinics in Samut Prakan province, it was found that doctor/nurse was at a high level and the highest of mean score while the lowest mean score was promotion factor. Moreover, the level of service quality and marketing mix factor were correlated in all aspects; and (3) As for the suggestions, the Veterinary Clinics in Samut Prakan province should develop marketing strategy such as public relation, advertising, and giving a special discount for new members in order to meet the customer satisfaction.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153822.pdfเอกสารฉบับเต็ม43.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons