Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11944
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลักษณา ศิริวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนันทวัน ศรีภูมิพฤกษ์, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T07:36:13Z-
dc.date.available2024-04-18T07:36:13Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11944-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.(บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นต่อประสิทธิผลของการสื่อสารยุทธศาสตร์ภายในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการสื่อสารยุทธศาสตร์ภายใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (3) เสนอแนะกลยุทธ์การสื่อสารยุทธศาสตร์ภายในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธีด้วยการวิจัยเชิงปริมาณที่เน้นวิธีการสำรวจ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ศึกษา คือ กลุ่มบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จำนวน 1,647 คน และผู้บริหารระดับสูงที่กำกับดูแลและมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับทุกพันธกิจในการสื่อสารยุทธศาสตร์ภายในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จำนวน 5 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างบุคลากรด้วยสูตรของทาโร ยามาเน ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 400 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ และผู้บริหารระดับสูง 5 คน โดยใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า (1) ระดับความคิดเห็นต่อประสิทธิผลของการสื่อสารยุทธศาสตร์ภายในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มีไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) ปัจจัยด้านการสื่อสารภายในองค์การ ปัจจัยด้านยุทธศาสตร์และนโยบายภายนอกองค์การ ปัจจัยด้านผู้นำองค์การ มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการสื่อสารยุทธศาสตร์ภายในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับ .05 โดยรวมสามารถอธิบายความผันแปรของประสิทธิผลการสื่อสารยุทธศาสตร์ภายในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชได้คิดเป็นร้อยละ 62.70 (3) กลยุทธ์ที่ควรนำมาใช้ คือ นำหลักการสื่อสารภายในองค์การมาใช้ในการสื่อสารยุทธศาสตร์อย่างจริงจัง ต่อเนื่อง และทั่วถึง ให้ความสำคัญกับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ของประเทศ และการพัฒนาระบบอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ และเน้นการนำองค์การโดยการโน้มน้าวใจบุคลากรให้ปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์ต่าง ๆ รวมถึงมีการส่งเสริมให้บุคลากรเกิดการเรียนรู้ การยอมรับและตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของผู้นำth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช--แง่ยุทธศาสตร์th_TH
dc.subjectการสื่อสาร--แง่ยุทธศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการสื่อสารยุทธศาสตร์ภายในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing effectiveness of the strategy communication in Sukhothai Thammathirat Open Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the effectiveness of strategy-related communications in Sukhothai Thammathirat Open University (2) study the factors that influenced the effectiveness of strategic communications in Sukhothai Thammathirat Open University (3) recommend the approaches to enhance strategic communication in Sukhothai Thammathirat Open University. This research was a mixed methods research consisting of quantitative research using a survey method and quanlitative research. The population was 1,647 academic and support staff of Sukhothai Thammathirat Open University and five high-level administrators in charge of and directly involved in every mission of the university’s internal strategy communications. A sample size of 400 was determined using the Taro Yamane method, the sampling method was stratified random sampling, and the five administrators were all samples. The instrument was a questionnaire and an interview form. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The results of this research were: (1) the effectiveness of the strategic communication in Sukhothai Thammathirat Open University was not less than 80%, at a statistically significant degree at a level of .05. (2) The factors of internal organizational communications, external strategy and policies, and organizational leaders influenced the effectiveness of strategic communication in Sukhothai Thammathirat Open University at a statistically significant degree of .05, overall could jointly predict 62.70 % (3) The strategy that should be used were: the earnestly, thoroughly, and consistently implement the principles of internal organizational communication; pay more attention to news about national vision statements and development of the higher education system, leadership should emphasize persuading personnel to follow the university’s strategies, including personnel should also be encouraged to learn, commit and respond to the leaders’ strategiesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม45.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons