Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11946
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชนีกร โชติชัยสถิตย์th_TH
dc.contributor.authorพงษ์พิศิฏฐ์ ช่วยชู, 2510-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T07:51:49Z-
dc.date.available2024-04-18T07:51:49Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11946en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.บ. (การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับพฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช ที่มีระดับชั้นที่ศึกษา ที่พักอาศัยและประสบการณ์การขับขี่รถจักรยานยนต์แตกต่างกัน และ (3) ศึกษาแนวทางการป้องกันอุบัติเหตุจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรเป็นนักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราชภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ที่ขับขี่รถจักรยานยนต์ ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน คือ แบบแบ่งชั้นและระบบง่าย ได้ตัวอย่างจำนวน 304 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและหาค่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัย พบว่า (1) พฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง (2) นักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช ที่มีระดับชั้นที่ศึกษาต่างกัน พบว่า ด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักศึกษาที่พักอาศัยต่างกัน พบว่า ด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และประสบการณ์การขับขี่รถจักรยานยนต์ต่างกัน พบว่า ด้านการรับรู้ความรุนแรงของการเกิดอุบัติเหตุแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (3) แนวทางการป้องกันอุบัติเหตุจากการขับขี่ครอบครัวมีบทบาทสำคัญในการหล่อหลอม สร้างเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษา มีพฤติกรรมการขับขี่ให้ประพฤติปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเข้มงวดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอุบัติเหตุจากการขับขี่จักรยานยนต์--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.titleพฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeAccident preventive behaviors from driving motorcycles of Nakhon Si Thammarat Technical College Studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาครอบครัวและสังคม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study accident preventive behaviors from driving motorcycles of Nakhon Si Thammarat technical college students; (2) to compare accident preventive behaviors from driving motorcycles of Nakhon Si Thammarat technical college students according to different levels of education, residences and experiences of driving motorcycles and (3) to study guidelines for promoting accident preventive behaviors from driving motorcycles of Nakhon Si Thammarat technical college students. This study employed a survey research method. Population of this research were Nakhon Si Thammarat technical college students who drove motorcycles and studied in second semester of 2018 academic year. The samples total of 304 students were selected using two-stage sampling technique which were stratified sampling and simple random sampling techniques. The research instrument was a questionnaire constructed by the researcher. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, one-way anova and the Scheffe’s method. The study found that (1) overall, accident preventive behaviors from driving motorcycles of Nakhon Si Thammarat technical college students were at the moderate level; (2) Nakorn Si Thammarat technical college students who studied at different levels of education perceived differently of risks for accidents at the .05 level of statistical significance; students who had different residences also perceived differently of risks for accidents at the .05 level of statistical significance and students who had different experiences of driving motorcycles perceived differently of severity of accidents at the .05 level of statistical significance and 3) guidelines for promoting accident preventive behaviors of driving motorcycles of technical college students were that families had important roles in socializing and promoting quality of life of students for having safe driving behaviors by strictly following the traffic lawsen_US
dc.contributor.coadvisorสุนิสา จุ้ยม่วงศรีth_TH
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons