Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1194
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ วิภาวิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพวา พันธุ์เมฆา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขวัญตา เหลืองมั่นคง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T14:24:58Z-
dc.date.available2022-08-27T14:24:58Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1194-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการใช้และความต้องการสารสนเทศของ นักวิทยาศาสตร์และนักวิชาการด้านพลังงานนิวเคลียร์และรังสี สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (2) เปรียบเทียบการใช้และความต้องการสารสนเทศของนักวิทยาศาสตร์และนักวิชาการด้านพลังงาน นิวเคลียร์และรังสี สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติและ (3) ศึกษาปัญหาการใช้สารสนเทศของนักวิทยาศาสตร์ และนักวิชาการด้านพลังงานนิวเคลียร์และรังสี สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจและเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ นักวิทยาศาสตร์และนักวิชาการด้านพลังงานนิวเคลียร์และรังสี สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ จำนวน 263 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 186 คนโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและแบบ สัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ สมมุติฐานโดยใช้สถิติค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและทดสอบรายคู่ตามวิธีการเชฟเฟ่ ส่วน แบบสัมภาษณ์ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย พบว่า (1) นักวิทยาศาสตร์และนักวิชาการด้านพลังงานนิวเคลียร์และรังสีสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ มีการใช้และความต้องการสารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่ามีการใช้วารสารนิวเคลียร์ปริทัศน์สูงสุดในระดับมาก รองลงมาคือคู่มือการ ปฏิบัติงานด้านพลังงานนิวเคลียร์และรังสีนักวิทยาศาสตร์และนักวิชาการด้านพลังงานนิวเคลียร์และรังสี สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติมีความต้องการสารสนเทศด้านความปลอดภัยจากพลังงานนิวเคลียร์และรังสี ในระดับมาก (2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญด้านระดับ การศึกษา เมื่อเปรียบเทียบความต้องการสารสนเทศพบว่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ (3) ปัญหาการใช้สารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ความไม่สะดวกในการใช้แหล่งสารสนเทศ ภายนอก เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอ และทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดไม่ตรงตามความต้องการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.131-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสารสนเทศ--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการใช้และความต้องการสารสนเทศของนักวิทยาศาสตร์และนักวิชาการด้านพลังงานนิวเคลียร์และรังสี สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติth_TH
dc.title.alternativeInformation use and needs of scientists and scholars in nuclear energy and radiation at the Office of Atoms for Peaceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.131-
dc.degree.nameศิลปศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are (1) to study information use and need of scientists and scholars in nuclear energy and radiation at the Office of Atoms for Peace; (2) to compare the information use and needs of scientists and scholars in nuclear energy and radiation at the Office of Atoms for Peace; (3) to study the problems in using information of scientists and scholars in nuclear energy and radiation at the Office of Atoms for Peace. This research was a survey and qualitative study and the population were 263 scientists and scholars in nuclear energy and radiation at the Office of Atoms for Peace. Stratified random sampling was used in the sampling of 186 scientists and scholars. The tools used in data collection were a questionnaire and interview. The Statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test , One-way analysis of variance, comparison by Scheffe's test and content analysis. The research findings were summarized as follows: (1) Information use and needs by scientists and scholars in nuclear energy and radiation at the Office at Atoms for Peace were at the moderate level, when classified each aspect found that the use of Journal of Nuclear Science Review was highest at the high level, followed by the Operation Manual of Nuclear Energy and Radiation Manual. Information needs about safety from nuclear energy and radiation by scientists and scholars in nuclear energy and radiation at the Office at Atoms for Peace were also at a high level. (2) Comparing information use and needs by scientists and scholars in nuclear energy and radiation at the Office at Atoms for Peace found no statistical significance in educational level, when comparing information needs was found statistical significance .05 and (3) The problems in using information overall were in the moderate level such as inconvenience of outside information sources, inadequate computers and library resources did not meet the requirementsen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (8).pdfเอกสารฉบับเต็ม14.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons