Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11961
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสรินณี เกษตรวิทย์, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-19T06:24:03Z-
dc.date.available2024-04-19T06:24:03Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11961-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) ศึกษาระดับส่วนประสมทางการตลาดบริการของรถไฟฟ้าบีทีเอสของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร และ (2) เปรียบเทียบส่วนประสมทางการตลาดบริการ จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และพฤติกรรมการใช้บริการ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือกลุ่มคนที่ใช้บริการรถไฟฟ้าบีทีเอส ที่ไม่ทราบ จํานวนประชากรที่แน่นอน ขนาดกลุ่มตัวอยางคํานวณได้จากสูตรของ วิลเลียม เจมเมลล์ โคชราน ได้จํานวน 420 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าเอฟ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ ด้วยวิธีผลต่างนัยสําคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) ส่วนประสมทางการตลาดบริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส โดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์และบริการอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านช่องทางการจัดจําหน่าย ด้านกระบวนการ ด้านบุคคล ด้านส่งเสริมการตลาด ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านราคา ตามลําดับ และ (2) ผลการเปรียบเทียบส่วนประสมทาง การตลาดบริการ จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และพฤติกรรมการใช้บริการ พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ส่วนประสมทางการตลาดทุกด้าน ยกเว้นด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ด้านบุคคล ด้านกระบวนการด้านลักษณะทาง กายภาพ และพฤติกรรมการใช้บริการมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในส่วนประสมทางการตลาดทุกด้าน ยกเว้นด้านราคา และด้านช่องทางการ จัดจําหน่ายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectรถไฟฟ้าบีทีเอส--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการบริการลูกค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectการตลาดth_TH
dc.titleส่วนประสมทางการตลาดบริการของรถไฟฟ้าบีทีเอสในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeService marketing mix of BTS sky train service in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study level of marketing mix of BTS sky train service in Bangkok Metropolis; and (2) to compare marketing mix classified by personal factors and service behavior. Population was unknown number of people who used BTS Sky train service. Sample size were 420 samples calculated by WG Cochran calculation formula. Sampling method was accidental sampling. Research instrument was a questionnaire. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, f-test, one-way ANOVA and multiple comparison test. The findings showed that: (1) an overall image of marketing mix of BTS sky train service in Bangkok Metropolis was at high level. Considered each aspect, it was found that service aspect was at the highest mean, followed by location, process and service from employees, market promotion, facilities and price, respectively; and (2) comparison of marketing mix classified by personal factors and service behavior, it showed that age, monthly income, objective of being serviced and expenditure of being service per day affected the decision of being service differently at statistical significance level at 0.05. All aspects of marketing mix, except for service aspect, service from employees, process and facilities, showed that service behavior affected the decision of service differently at statistical significance level at 0.05 in all aspects of using service except price and location.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154751.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons