Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11973
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบริบูรณ์ ปิ่นประยงค์th_TH
dc.contributor.authorวัลยา ตานี, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-19T07:56:57Z-
dc.date.available2024-04-19T07:56:57Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11973en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) หลักธรรมาภิบาลของบริษัท พระนครยนตรการ จํากด (2) ปัจจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสําคัญต่อหลักธรรมาภิบาลของ บริษัท พระนครยนตรการ จํากัด และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์ กับหลักธรรมาภิบาลของบริษัท พระนครยนตรการ จํากัด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ พนักงานของบริษัท พระนครยนตรการ จํากัด จํานวน 150 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยการใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้ 109 ตัวอยาง ใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบวา่ (1) หลักธรรมาภิบาลของบริษัท พระนครยนตรการ จํากัด ด้านการตอบสนอง ด้านภาระรับผิดชอบ และด้านความโปร่งใส มีความสําคัญอยูในระดับมาก (2) ปัจจัย การจัดการทรัพยากรมนุษย์ด้านการสรรหา และด้านแรงงานสัมพันธ์มีความสําคัญต่อหลักธรรมาภิบาลอยู่ในระดับมาก และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับหลักธรรมาภิบาล มีความสัมพันธ์ในทางบวกอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบรรษัทภิบาล--ไทยth_TH
dc.subjectการบริหารงานบุคคล--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleการจัดการทรัพยากรมนุษย์ตามหลักธรรมาภิบาลของ บริษัทพระนครยนตรการ จำกัดth_TH
dc.title.alternativeHuman resource management under good governance of Phranakorn Yontrakarn Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study good governance of Phranakorn Yontrakarn Company Limited, (2) to study the significant human resource management factors for good governance of Phranakorn Yontrakarn Company Limited, and (3) to study the relationship between human resource management factors and good governance of Phranakorn Yontrakarn Company Limited. The sample group used in the study included 150 staffs of Phranakorn Yontrakarn Company Limited, determined by using Taro Yamane’s Formula and 109 samples were acquired applying stratified random sampling method. Questionnaires were used as an instrument to collect data and statistics applied in data analysis consisted of frequency, percent, mean, standard deviation, and Pearson’s product – moment correlation coefficients. The findings of this study indicated that (1) good governance in response, accountability and transparency aspects were significantly at a high level, (2) human resource management factors in recruitment and labor relations aspects were significant for good governance at a high level, and (3) the relationship between human resource management factors and good governance indicated that inter-correlation coefficients between variables were positively related at a statistical significance level of .01 and .05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158813.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons