Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11975
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรณัฐ บูรณสมภพ, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-19T08:11:55Z-
dc.date.available2024-04-19T08:11:55Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11975-
dc.description.abstractการศึกษาปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกโรงเรียนกวด วิชาในเขตอำเกอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการ ตัดสินใจเลือกโรงเรียนกวดวิชาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอเมือง จังหวัด สุราษฏร์ธานี 2) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับการตัดสินใจเลือกโรงเรียนกวดวิชาของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสม การตลาดกับการตัดสินใจเลือกโรงเรียนกวดวิชาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานีกลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ กลุ่มนักเรียนที่เลือกเรียนโรงเรียนกวดวิชาและ กำลังศึกยาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในโรงเรีขนรัฐบาล 6 แห่ง จำนวนทั้งสิ้น 5,078 คน กำหนดขนาด ของกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรของทาโรยามาเน่ ได้จำนวน 375 คน แต่เพื่อให้ผลที่ได้มีความแม่นยำและ ผิดพลาดน้อย ผู้วิจัยจึงจัดทำแบบสอบถามขึ้นเป็น 400 ตัวอย่าง ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ก่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าที ค่าเอฟ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) นักรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอเมือง จังหวัด สุราษฎร์ธานี ส่วนใหญ่เลือกเรียนในโรงเรียนกวดวิชา วันหยุดเสาร์-อาทิตย์ โดยเลือกเรียนช่วงเวลาก่อน 17.00 ในวันธรรมดา และเลือกเรียนช่วงเวลา 13.00-16.00 น. ในวันเสาร์และอาทิตย์ มีเหตุผลในการเลือก เรียนกวดวิชา คือ เพื่อเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย เหตุผลรองลงมาคือ เพื่อเพิ่มเกรดเฉลี่ยในห้องเรียน และ เพื่อทบทวนบทเรียนตามลำดับ (2) ปัจจัยส่วนบุคคลด้าน เพศ ระดับการศึกษา แผนการศึกษา เกรดเฉลี่ย และรายได้ต่อเดือนของผู้ปกครองที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกโรงเรียนกวดวิชาของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกโรงเรียนกวดวิชาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานีในทิศทางเชิงบวกอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโรงเรียนกวดวิชา--การตลาดth_TH
dc.subjectการตัดสินใจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกโรงเรียนกวดวิชาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeMarketing –mix factors relating selection of tutor school in Muang District, Surat Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the study were 1) to study behavior to decision- making of the Tutor School of high school students in Muang district, Surat Thani province; 2) to compare personal factors related to the decision-making of the Tutor School of high school students in Meang district, Surat Thani province; and 3) to study the relationship between marketing-mix factors and the decision-making of the high school students in Muang district, Surat Thani province. The sample of this study consisted of a group of students who chose to study in Tutor School and studied in 6 public high schools, so total population was 5,078 students. The sample was 375 students, calculated by using Taro Yamane formula and for accuracy the researcher collected 400 samples by using specific sampling. The tool was a questionnaire and statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and correlation Pearson ' s correlation coefficient. The results revealed that 1) most of the high school students in Muang district, Surat Thani province chose to study at the Tutor School on the weekend, during the weekday before 5.00 P.M. and 1.00-4.00 P.M.; three reasons to study at the Tutor School were preparation for entrance, an increase of Grade Point Average (GPA), and the revision of their lessons, respectively. (2) parents with different genders, levels of education, plans of study, GPAs, and incomes had no different behavior on decision- making of the Tutor School of high school students in Muang district, Surat Thani province, and (3) the marketing-mix factors were positively correlated with school decision- making in Muang district, Surat Thani province at a moderate level with a statistic significance at the level of 0.05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158819.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons