Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11976
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวนิดา ทองจันทร์, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-19T08:18:40Z-
dc.date.available2024-04-19T08:18:40Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11976-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแบบพฤติกรรมผู้นำของผู้บังคับบัญชา โรงเรียนนายสิบทหารบกที่เป็นอยู่และที่พึงประสงค์ของข้าราชการในสังกัด (2) เปรียบเทียบแบบ พฤติกรรมผู้นำที่เป็นอยู่และที่พึงประสงค์ของข้าราชการ สังกัดโรงเรียนนายสิบทหารบก จำแนกตาม คุณลักษณะส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนะการเสริมสร้างแบบพฤติกรรมผู้นำที่พึงประสงค์ของ โรงเรียนนายสิบทหารบกการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ ข้าราชการในสังกัดโรงเรียน นายสิบทหารบก จำนวน 451 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของทาโร ยามาเน่ ได้ 212 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการศึกษาพบว่า (1) ข้าราชการสังกัดโรงเรียนนายสิบทหารบก ส่วนใหญ่มีการรับรู้แบบพฤติกรรมผู้นำที่เป็นอยู่ และแบบพฤติกรรมผู้นำที่พึงประสงค์ อยู่ในระดับมากที่สุด คือ การบริหารงานแบบ 5,5 แบบทางสายกลาง (2) ข้าราชการในสังกัดโรงเรียนนายสิบทหารบกที่มีปัจจัย ลักษณะส่วนบุคคลต่างกัน มีการรับรู้แบบพฤติกรรมผู้นำที่เป็นอยู่ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นข้าราชการที่มี ระดับการศึกษาต่างกัน มีการรับรู้แบบพฤติกรรมผู้นำที่เป็นอยู่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 และข้าราชการในสังกัดโรงเรียนนายสิบทหารบกที่มีปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลต่างกัน มี แบบพฤติกรรมผู้นำที่พึงประสงค์ไม่แตกต่างกัน และ (3) ข้อเสนอแนะพบว่า ผู้บังคับบัญชาควรให้ ความสนใจทั้งเรื่องงานและขวัญกำลังใจของผู้ใต้บังคับบัญชา มีเป้าหมายการทำงานที่ชัดเจน เพื่อ ก่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันและสามารถทำให้เป็นจริงได้ เพื่อจูงใจให้ผู้ใต้บังคับบัญชาพยายาม ทำงานให้บรรลุเป้าหมายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโรงเรียนนายสิบทหารบก--ข้าราชการ--ทัศนคติth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleแบบพฤติกรรมผู้นำที่พึงประสงค์ของข้าราชการ สังกัดโรงเรียนนายสิบทหารบกth_TH
dc.title.alternativeDesirable leadership behavior of Officials of Army Non Commissioned Officer Schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหำรธุรกิจมหำบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: (1) study the existing and the desirable leadership behavior of officials at Army Non Commissioned Officer School (2) compare the existing and desirable leadership behavior of officials at Army Non Commissioned Officer School separately by the personality characters; and (3) suggest the improvement for desirable leadership behavior of Army Non Commissioned Officer School. Population was 451 officials of Army Non Commissioned Officer School. Sample size was 212 officers calculated by using Taro Yamane calculation formula. Sampling method employed stratified random sampling. Research instrument was a questionnaire. Statistics for data analysis used frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and One- way ANOVA. The results were as follows: (1) the officials of Army Non Commissioned Officer School has perception about the existing and desirable leadership behavior at the highest level in the moderate practice aspect. (2) The officials of Army Non Commissioned Officer School with differences in personal factors have no differences in perception about both the existing and desirable leadership behavior. Except for the education aspect that had difference perception about both the existing leadership behavior with statistically significant level at 0.05. (3) The respondents suggested that the supervisors of Army Non Commissioned Officer School should: pay attention to both working and morale aspects; define clearly work objective which can make subordinates to share vision and accomplish the mission; and the supervisors should motivate the subordinates to achieve the goalsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158824.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons