Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11979
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสิริกุล ศรีมาก, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-19T08:37:03Z-
dc.date.available2024-04-19T08:37:03Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11979-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการซื้อของลูกค้าคอนโดมิเนียม บริษัท มั่นคงเคหะการ จํากัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร (2) วิเคราะห์การรับรู้คุณค่าตราสินค้า คอนโดมิเนียม บริษัท มั่นคงเคหะการ จํากัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานครัว และ (3) เปรียบเทียบการ รับรู้คุณค่าตราสินค้าคอนโดมิเนียม บริษัท มั่นคงเคหะการ จํากัด (มหาชน) ตามข้อมูลทั่วไปของผู้ซื้อ ประชากรในการศึกษาคือ ลูกค้าที่ซื้อคอนโดมิเนียมของบริษัท มั่นคงเคหะการ จํากัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 1,111 คน คํานวณหาขนาดตัวอย่างตามสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้จํานวน 295 คน และใช้ตัวอย่างวิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมของลูกค้าที่ซื้อคอนโดมิเนียมบริษัท มั่นคงเคหะการ จํากัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานครส่วนใหญ่ตัดสินใจเลือกลักษณะห้อง 1 ห้องนอน ซื้อคอนโดมิเนียมที่อยู่ ในช่วงราคา 1, 000,001 – 2,000,000 บาท จะเลือกขนาดห้อง 25-35 ตรม. บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อคือ ซื้อด้วยตัวเองใช้ยานพาหนะเป็นรถยนต์ส่วนตัวเวลาที่ใช้จอดรถอยู่ในช่วงเวลา 20.01 น. เป็ นต้นไป ปัจจัยที่ใช้พิจารณาในการเลือกซื้อคอนโดมิเนียมอยูใกล้ที่ทํางานระยะเวลาที่ใช้พิจารณาก่อนตัดสินใจซื้อตํ่ากว่า 1 เดือน เน้นความสําคัญในการเลือกคุณภาพการบริการคือ การรับประกนผลงานหลังการส่งมอบห้องชุดส่วนใหญ่ซื้อเป็นครั้งแรก ซื้อครั้งล่าสุดโดยระยะเวลา 7-11 เดือนที่ผ่านมา (2) การรับรู้ คุณค่าตราสินค้าบริษัท มั่นคงเคหะการ จํากัด (มหาชน) โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านความผูกพันต่อตราสินค้า ด้านการรับรู้คุณภาพ ด้านการรับรู้จดจําตราสินค้า ด้านภาพลักษณ์ ตราสินค้าอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้านความจงรักภักดีต่อตราสินค้าอยู่ในระดับปานกลาง และ (3) ผลการ เปรียบเทียบการรับรู้คุณค่าตราสินค้า จําแนกตามข้อมูลทัวไปของผู้ซื้อ พบว่า อายุ อาชีพ รายได้ที่แตกต่าง กัน มีการรับรู้คุณค่าตราสินค้าคอนโดมิเนียมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectพนักงาน--การทำงานth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสังกัดสำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 9th_TH
dc.title.alternativeJob motivations of personnel of Regional Excise Office 9en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study job motivations of personnel of Regional Excise Office 9 and (2) to compare job motivations of personnel of Regional Excise Office 9 as classified by 9 personal factors. The population consisted of 391 personnel of Regional Excise Office 9. The sample of 198 respondents calculated by Taro Yamane’s formula were employed for this study with stratified random sampling. Instrument used in collecting data was a questionnaire. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way Anova; and Scheffé's method used to indicate which values were significantly different. This study found that (1) job motivations of Personnel of Regional Excise Office 9 in overall were at a high level and upon consideration as an aspect basis, it is in the high level in all aspects. The aspect that achieved highest average was achievements, followed by job responsibility, and the lowest average was growth opportunity and (2)the comparison of opinions among personnel toward Job Motivations found that there was no difference between male and female personnel on job motivations in overall and each aspect but the personnel who are different in the status of age, marital status, average monthly income, level of education, agency, type of employment, duration of employment and current job position, were different in job motivation with statistically significant at the level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158828.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons