Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12002
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรำไพ ซึมกลาง, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-05-17T07:13:53Z-
dc.date.available2024-05-17T07:13:53Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12002-
dc.description.abstractการศึกษาคั้นคว้าอิสระเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (I) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของ บุคลากรในสังกัดสำนักงานสรรพากรพื้นที่นครราชสีมา 2 (2) เปริยบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากร จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล (3) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรใน สังกัดสา นักงานสรรพากรพื้นที่นครราชสีมา 2 การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ และเป็นการศึกษาประชากรทั้งหมด ซึ่ง ได้แก่ บุคลากรในสังกัดสำนักงานสรรพากรพื้นที่นครราชสีมา 2 จำนวนทั้งสิ้น 141 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเกราะห์ข้อมูล โคยการหาคำร้อยละ คำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบคำทีการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบผลต่างน้อยที่สุดเป็นรายคู่ด้วยวิธีของเซฟเฟผลการศึกษาพบว่า (I) คุณภาพชิวิตการทำงานของบุคลากร ในสังกัดสำนักงานสรรพากรพื้นที่นครราชสีมา 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาแยกเป็นรายด้าน พบว่า คุณภาพชีวิต การทำงานในระดับมาก 3 ด้าน ด้านความเกี่ยวข้องและเป็นประ โยชน์ต่อสังคม มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานและด้นการบูรณาการทงสังคมหรือการทำงานร่วมกัน ตามลำดับ ส่วนคุณภาพชีวิตการทำงานในระดับปานกลาง 5 าน ได้แก่ ค้าน โอกาสในการ พัฒนาความสามารถของบุคคล ด้านธรมนูญในองค์กร ความมั่นคงและความก้าวหน้าในงาน ด้านสภาพการทำงานที่ปลอดภัยและและ ส่งเสริมสุขภาพ และด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ตามลำดับ (2) บุคลากรในสังกัดสำนักงาน สรรพากรพื้นที่นครราชสีมา 2 ที่มีระดับการศึกษา และสังกัดฝ้ายส่วนงานที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิต การทำงานแตกดำงกันอย่งมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนบุคลากรที่มี เพศ อายุ สถานภาพ รายได้รวมต่อ เดือน ตำแหน่งงาน และอายุงาน แตกต่งกันมีคุณภาพชีวิตการทำงนไม่แตกต่งกัน (3) แนวทางการพัฒนา คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรในสังกัดสำนักงานสรรพากรพื้นที่นครราชลีมา 2 ได้แก่ การปรับปรุงสถานที่ ทำงานให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน โดยการสร้างอาคารสำนักงาน การจัดหาหรือสร้างบ้านพักของทางราชการ ให้แก่บุคลากร การจัดหารุภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ ให้เพียงพอต่อความต้องการ และการจัดกิจกรรมสันทนาการเพื่อ ผ่อนคลายความตึงเครียดในการทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสำนักงานสรรพากรพื้นที่นครราชสีมา 2th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรในสังกัดสำนักงานสรรพากรพื้นที่นครราชสีมา 2th_TH
dc.title.alternativeQuality of work life of support personnel at Nakhon Rachasima Area Revenue Office 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study the level of quality of work life of personnel at Nakhon Ratchasima Area Revenue Office 2; (2) to compare the quality of work life of personnel at Nakhon Ratchasima Area Revenue Office 2 classified by personal characteristics; and (3) to recommend the ways to develop the quality of work life of personnel at Nakhon Ratchasima Area Revenue Office 2. The study was a survey research. The sample was the total population of 141 personnel. The data was collected by using a questionnaire and was analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t-Test, One-way ANOVA and Least Significant Difference (LSD). The results showed that (1) overall the quality of work life of personnel at Nakhon Ratchasima Area Revenue Office 2 was at the moderate level. The social benefit, the balance between life and working, and social integration or working together were high respectively. While the chance of personal development, the organization charter, stability and progress in work, safety and healthy working environment, and adequate and fair compensation were moderate respectively; (2) the personnel with different educational background and department had different quality of work life at the statistical significance 0.05. While the personnel with different gender, age, marital status, income, position and working experience had no different in quality of work life; and (3) the ways to develop the quality of work life of personnel at Nakhon Ratchasima Area Revenue Office 2 were to improve the workplace by constructing the office building and providing the official residence, equipment and recreation activities.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148776.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons