กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12006
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | รัชนิดา หนูแก้ว, 2535- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-05-17T07:48:27Z | - |
dc.date.available | 2024-05-17T07:48:27Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12006 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ (2) เปรียบเทียบการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้สอบบัญชีที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ได้ให้การรับรองแล้วในปี 2559 จำนวน 274 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 163 คน ด้วยสูตรของทาโรยามาเน่ ใช้วิธี การสุ่มตัวอย่างแเบบชั้นภูมิ และการสุ่มตัวอย่างเบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้วิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ การเปรียบเทียบพหุคูด้วยวิธีผลต่างอย่างมีนัยสำคัญน้อยที่สุด และการวิเคราะห์การถดถอยพหูคูณผลการศึกษา พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติงานตรวจสอบเนื้อหาสาระในระดับมากที่สุด (2) ผู้สอบบัญชีสหกรณ์ที่มีเพศต่างกัน มีกรปฏิบัติงาน โดยรวมไม่แตกต่างกัน แต่ในด้านการตรวจสอบเนื้อหาสระแตกต่างกันและผู้ที่มีอายุและ ระยะเวลาการทำงานแตกต่างกัน มีการปฏิบัติงานแตกต่างกันในทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 และ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ ได้แก่ มิติสัมพันธภาพและแรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ โดยสามารถร่วมกันอธิบายการเปลี่ยนแปลงของตัวเปรตาม คือ การปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ ได้ร้อยละ 60 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ผู้สอบบัญชี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting the performance of cooperative auditors | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were: (1) to study the level of performance of cooperative auditors and to compare the performance of cooperative auditors classified by personal factors; and (2) to study factors affecting the performance of cooperative auditors. The population consisted of 274 cooperative auditors, certified in 2016. The sample size was 163 samples calculated by using Taro Yamane’s formula. The research tool was a questionnaire by using Stratified random sampling and simple random sampling. The statistics using for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and Least Significant Difference (LSD). The results revealed that most respondents were females with the age ranged from 31 – 40 years and they were single. They graduated with a Bachelor’s degree and the working experience ranged from 1 year – 4 years. The results also indicated that (1) the sample group had the highest level of performance in substantive test. While classified by gender, the different genders of cooperative auditors had no different overall performance. However, cooperative auditors with different genders had different formats of substantive test. In addition, it was also found that cooperative auditors with different ages and working experience had different performance in all aspects with statistical significance at 0.5 level; and (2) factors influencing the performance of cooperative auditors were relationship dimension and needs for affiliation both of which could mutually explain changing of dependent variables as operation with percentage of 60% (R Square=0.60). | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
158689.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.42 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License