Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12017
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิติพัฒน์ เอี่ยมนิรันดร์th_TH
dc.contributor.authorปณิตา ภัทรพงศ์กร, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-23T07:38:18Z-
dc.date.available2024-05-23T07:38:18Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12017en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การจัดการกองประชาสัมพันธ์ของการท่าเรือแห่งประเทศไทย (2) ปัญหาการสื่อสารในองค์กรของการท่าเรือแห่งประเทศไทย และ(3) แนวทางการพัฒนาการจัดการกองประชาสัมพันธ์ของการท่าเรือแห่งประเทศไทย การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ 1) ผู้บริหารระดับสูง และระดับกลาง ของกองประชาสัมพันธ์ 2) พนักงานกองประชาสัมพันธ์ 3) พนักงานกองธุรกิจสัมพันธ์และการตลาด ของการท่าเรือแห่งประเทศไทย จำนวน 20 คน ผลการวิจัยพบว่า (1) กองประชาสัมพันธ์ของการท่าเรือแห่งประเทศไทย มีการกำหนดวิสัยทัศน์และอำนาจหน้าที่ไว้แต่ไม่ได้กำหนดเป็นนโยบาย โดยอำนาจหน้าที่เน้นการสื่อสารภายนอกมากกว่าการสื่อสารภายในองค์กร (2) ปัญหาการสื่อสารในองค์กรของการท่าเรือแห่งประเทศไทย พบว่ามี 6 ด้าน คือ ด้านนโยบายการสื่อสารในองค์กร ไม่มีนโยบายด้านการสื่อสารในองค์กรที่ชัดเจน ด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร พนักงานไม่เข้าใจในเนื้อหาข่าวและไม่สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ด้านเทคโนโลยีการสื่อสารในองค์กร มีเทคโนโลยีในการสื่อสารในองค์กร ได้แก่ เวบไซต์องค์กร อินทราเน็ต การส่งข้อความสั้น แต่การนำเสนอข่าวสารไม่ครบถ้วนและไม่มีการปรับปรุงให้ทันสมัยอย่างสม่ำเสมอ ด้านภาระหน้าที่ความรับผิดชอบในการสื่อสาร ผู้ส่งสารไม่ส่งข้อมูลข่าวสารให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย ไม่มีการติดตามประเมินผล ผู้รับสารเปิดรับสารบางช่องทางหรือไม่เปิดรับข่าวสารเลย ด้านวิธีการสื่อสารในองค์กร มีการสื่อสารด้วย การเขียน การพูด และสัญลักษณ์ ด้านทิศทางการสื่อสารในองค์กร มีการสื่อสาร 4 ทิศทาง คือ การสื่อสารจากบนลงล่าง การสื่อสารจากล่างขึ้นบน การสื่อสารในระดับเดียวกัน และการติดต่อสื่อสาร แบบข้ามสายงาน (3) แนวทางการพัฒนาการจัดการกองประชาสัมพันธ์ของการท่าเรือแห่งประเทศไทย พบว่า ควรกำหนดนโยบายการสื่อสารในองค์กรให้ชัดเจนและเป็นเป้าหมายหลักขององค์กร และควรนำแนวคิดการเพิ่มประสิทธิภาพมาปรับใช้ในการสื่อสารในองค์กร ช่วยให้องค์กรสามารถดำเนินงานได้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการท่าเรือแห่งประเทศไทยth_TH
dc.subjectการประชาสัมพันธ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาการจัดการกองประชาสัมพันธ์ของการท่าเรือแห่งประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeApproaches to developing the management of the Port Authority of Thailand' s Public Relations Divisionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the management of the Port Authority of Thailand's public relations division; (2) problems with the Port Authority of Thailand's internal communications; and (3) approaches to developing the management of the Port Authority of Thailand's public relations division. This was a qualitative research based on documentary research and in-depth interviews with 20 key informants, consisting of 1) high-level and middle-level managers of the Port Authority of Thailand's public relations division; 2) personnel of the Port Authority of Thailand's public relations division; and 3) business relations and marketing division personnel of the Port Authority of Thailand. The results showed that (1) The Port Authority of Thailand's public relations division had a stated vision and distinct powers and responsibilities, but did not have clearly designated policies. The Port Authority of Thailand's public relations division's powers and responsibilities were focused more on external communications than internal communications. (2) Problems with internal communications were identified in six areas: internal organizational communication policy- lack of a clear policy; perception of news/information- the employees did not understand some of the news content and were unable to find additional information; information communication technology- the organization used its website, intranet and short message services, but the news and information was not complete enough and was not updated regularly; communication duties and responsibilities- the message sender did not communicate messages that fit the needs of the target group and did not evaluate or follow up on the communication and the message receivers did not expose themselves to the communication channels or else received information from only one or a few of the channels; organizational communication methods- writing, speaking and symbols were used in organization; organizational communication directions-communications were top-to-bottom, bottom-to-top, horizontal, and inter-departmental. (3) Approaches to developing the management of the Port Authority of Thailand's public relations division are to set a clear internal organizational communications policy, to make internal communications a priority in the organization's goals, and to implement efficiency improvement conceptsen_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140813.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons