Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12033
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุษบา สุธีธร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมนตรี ภูมิภักดิ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-24T07:03:06Z-
dc.date.available2024-05-24T07:03:06Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12033-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การเปิดรับสื่อประเภทต่างๆ เกี่ยวกับการลงคะแนน เลือกตั้งด้วยเครื่องลงคะแนนอิเล็กทรอนิกส์ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตอำเภอเมืองสระแก้ว ตามลักษณะทาง ประชากร 2) การรับรู้ข่าวสารการลงคะแนนเลือกตั้งด้วยเครื่องลงคะแนนอิเล็กทรอนิกส์ของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในเขตอำเภอเมืองสระแก้ว ตามลักษณะทางประชากร 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อประเภทต่างๆ กับการรับรู้ข่าวสารการลงคะแนนเลือกตั้งด้วยเครื่องลงคะแนนอิเล็กทรอนิกส์ การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตอำเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว จำนวน 400 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งฯ ที่มีเพศต่างกัน เปิดรับสื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อหนังสือพิมพ์ สื่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผู้มีสิทธิเลือกตั้งฯ ที่มีอายุ อาชีพ การศึกษา รายได้ต่อเดือนต่างกัน เปิดรับสื่อวิทยุโทรทัศน์ สื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อหนังสือพิมพ์ สื่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งฯ ที่มีอายุ อาชีพ การศึกษาต่างกัน มีการรับรู้ข่าวสารด้านความรู้ทั่วไป และด้านประโยชน์ของการนำเครื่อง ลงคะแนนฯ มาใช้ในการลงคะแนนเลือกตั้ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผู้มีสิทธิ เลือกตั้งฯ ที่มีรายได้ต่อเดือนต่างกัน มีการรับรู้ข่าวสารด้านประโยชน์ของการนำเครื่องลงคะแนนฯ มาใช้ใน การลงคะแนนเลือกตั้ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) การเปิดรับสื่อวิทยุโทรทัศน์ สื่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ข่าวสารด้านความรู้ทั่วไป ด้านประสิทธิภาพของเครื่อง ลงคะแนนฯ และด้านประโยชน์ของการนำเครื่องลงคะแนนฯ มาใช้ในการลงคะแนนเลือกตั้ง ในระดับปาน กลาง การเปิดรับสื่อหนังสือพิมพ์ มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ข่าวสารด้านความรู้ทั่วไปการลงคะแนนเลือกตั้ง ด้วยเครื่องลงคะแนนฯ ในระดับปานกลาง ส่วนการเปิดรับสื่อวิทยุกระจายเสียง มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ ข่าวสารด้านความรู้ทั่วไป ด้านประสิทธิภาพของเครื่องลงคะแนนฯ และด้านประโยชน์ของการนำเครื่อง ลงคะแนนฯ มาใช้ในการลงคะแนนเลือกตั้ง ในระดับต่ำ และการเปิดรับสื่อหนังสือพิมพ์ มีความสัมพันธ์กับ การรับรู้ข่าวสารด้านประสิทธิภาพของเครื่องลงคะแนนฯ และด้านประโยชน์ของการนำเครื่องลงคะแนนฯ มา ใช้ในการลงคะแนนเลือกตั้ง ในระดับต่ำth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเลือกตั้งท้องถิ่น--ไทย--สระแก้วth_TH
dc.subjectการเลือกตั้งth_TH
dc.subjectการเผยแพร่ข่าวสารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleการเปิดรับสื่อและการรับรู้ข่าวสารการลงคะแนนเลือกตั้งด้วยเครื่องลงคะแนนอิเล็กทรอนิกส์ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตอำเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้วth_TH
dc.title.alternativeMedia exposure and perception of news about electronic vote counting machines of eligible voters in Mueang Sa Kaeo District, Sa Kaeo Provinceth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the exposure to different kinds of media with messages about electronic voting machines of voters in Mueang Sa Kaeo District with different democratic characteristics; (2) those voters' awareness of news about electronic voting machines; and (3) the relationship between voters' media exposure and their awareness of news about electronic voting machines. This was a survey research. The sample population was 400 eligible voters in Mueang Sa Kaeo District, Sa Kaeo Province. Data were collected using a questionnaire. The data were statistically analyzed using percentage, mean, standard deviation, ANOVA and correlated coefficients. The results showed that (1) there was a statistically significant relationship (p<0.05) between the factor of sex and voters' exposure to the media of radio, newspaper and government employees. There was a statistically significant relationship (p<0.05) between the factors of age, occupation, educational level, and income and voters' exposure to the media of television, radio, newspaper and government employees. (2) There was a statistically significant relationship (p<0.05) between the factors of age, occupation, and educational level, and voters' awareness of general news about electronic voting machines and the benefits of electronic voting machines. There was a statistically significant relationship (p<0.05) between the factor of income and voters' awareness of news about the benefits of electronic voting machines. (3) Exposure to television media and government employee media was related to voters' awareness of general news about the efficiency of electronic voting machines and the benefits of electronic voting machines to a medium level. Exposure to newspaper media was related to voters' awareness of general news about electronic voting machines to a medium level. Exposure to radio media was related to voters' awareness of general news about electronic voting machines, the efficiency of electronic voting machines and the benefits of electronic voting machines to a low level. Exposure to newspaper media was related to voters' awareness of news about the efficiency of electronic voting machines and the benefits of electronic voting machines to a low levelen_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
149982.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons