Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12034
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมนัสนันท์ ภพกิตติสิริกุล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-24T07:22:24Z-
dc.date.available2024-05-24T07:22:24Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12034-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การเปิดรับของผู้ฟังรายการสถานีวิทยุ เพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วศม.FM 99.75 MHz จังหวัดนครปฐม 2) ความ พึงพอใจของผู้ฟังรายการสถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วศม. FM 99.75 MHz จังหวัดนครปฐม และ 3) ความต้องการของผู้ฟังรายการสถานีวิทยุกระจายเสียง เพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วศม. FM 99.75 MHz จังหวัดนครปฐม การวิจัย ครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ( Survey research ) กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย จังหวัดนครปฐมทุกหลักสูตร จำนวน 350 คน โดยการเลือก แบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานแล้วนำมาพรรณาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เปิดรับฟังรายการสถานีวิทยุกระจายเสียง เพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัยฯ ที่มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย ติดตามฟัง รายการ เดือนละ1-2 วัน ช่วงเวลาที่ฟังรายการ คือ ช่วงเวลาเช้า รายการที่ชอบฟังมากที่สุด คือ สาระ ธรรม และผู้ดำเนินรายการที่ชอบ คือ อาจารย์เอกลักษณ์ สังข์สุวรรณ 2) กลุ่มตัวอย่างมีความ พึงพอใจมากที่สุด คือ รายการประเภทข่าวสาร รูปแบบรายการข่าว ผู้ฟังมีความพึงพอใจผู้ดำเนิน รายการที่ใช้ภาษาไทยได้ชัดเจนและเข้าใจง่าย และมีความพึงพอใจด้านการมีส่วนร่วมของผู้ฟัง รวมทั้งความคมชัดของเสียง 3) กลุ่มตัวอย่างมีความต้องการมากที่สุด ด้านเนื้อหารายการ โดยให้ สอดแทรกธรรมะในการศึกษาเรียนรู้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยุเพื่อการศึกษา--ไทย--นครปฐมth_TH
dc.subjectรายการวิทยุ--ไทย--นครปฐมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleการเปิดรับความพึงพอใจและความต้องการของผู้ฟังรายการสถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วศม. FM 99.75 MHz จังหวัดนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeExposure to, satisfaction with and demands of listeners of Mahamakut Buddhist University Educational Radio FM 99.75 MHz in Nakhon Pathom Provinceth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) listeners' exposure to the programs of Mahamakut Buddhist University educational radio FM 99.75 MHz in Nakhon Pathom Province; 2 ) listeners' satisfaction with the programs of MBU educational radio; and 3) the demands of listeners to MBU educational radio. This was a survey research. The sample population was 350 students of Mahamakut Buddhist University in Nakhon Pathom Province, studying in any program, chosen through accidental sampling. The research tool was a questionnaire. Data were analyzed using the descriptive statistics of percentage, mean, and standard deviation as well as descriptive analysis. The results showed that 1) the majority of samples listened to MBU Educational Radio 1-2 times a month. They normally listened in the morning. The program they liked the most was "Sara Dham." The presenter they liked the most was Ekaluck Sungsuwan. 2 ) The type of program the majority of samples were the most satisfied with was news programs with a news reporting format. They were most satisfied with radio hosts who spoke clearly with good pronunciation and were easy to understand. They were also satisfied with the station's listener participation methods and the clarity of the audio signal. 3 ) The listeners demand for content the most. They desired more content that blend Dhamma with educational or learning contenten_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159185.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons