Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12035
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันทัด ทองรินทร์th_TH
dc.contributor.authorมนัญญา สมหนองบัว, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-24T07:33:28Z-
dc.date.available2024-05-24T07:33:28Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12035en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 (2) การรับรู้เกี่ยวกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 (3) ภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรีเขต 2 (4) ภาพลักษณ์ปัจจุบันของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 และ (5) เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างลักษณะทางประชากรกับภาพลักษณ์ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ (1) บุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติงานในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด (2) ข้าราชการครูที่ทำการสอนในโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน และข้าราชการครู สุ่มตัวอย่างแบบโควต้า รวมทั้งสิ้น 284 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างเปิดรับสื่อเกี่ยวกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 จากสื่อบุคคลในระดับมาก และจากสื่อเฉพาะกิจในระดับปานกลาง (2) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีการรับรู้เกี่ยวกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 ถูกต้อง (3) กลุ่มตัวอย่างต้องการให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 มีภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์ในทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด (4) ภาพลักษณ์ปัจจุบันของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับดี (5) เพศที่แตกต่างกันของกลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 ไม่แตกต่างกัน ระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันในด้านการบริการข่าวสารและช่องทางการสื่อสาร อายุที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์แตกต่างกันในด้านบุคลากร และด้านการบริการข่าวสารและช่องทางการสื่อสาร ตำแหน่งที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นแตกต่างกันในด้านการบริการข่าวสารและช่องทางการสื่อสาร และรายได้ที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2th_TH
dc.subjectภาพลักษณ์องค์การth_TH
dc.titleภาพลักษณ์ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2th_TH
dc.title.alternativeImage of Prachinburi Primary Education Service Area Office 2th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) exposure to news about Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2; (2) perceptions about Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2; (3) the desired image of Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2; and (4) the present image of Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2 among teachers and educational personnel working under the jurisdiction of Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2; and (5) to compare demographic factors with image of Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2. This was a survey research. The sample population was divided into 2 groups: (1) educational personnel working under the jurisdiction of Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2, all of whom were surveyed, and (2) teachers and administrators working at schools under the jurisdiction of Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2, out of whom a portion was selected using the quota sampling method, for a total sample population of 284. Data were collected using a questionnaire and analyzed using percentage, mean, standard deviation, t-test and chi square test. The results showed that (1) overall, the majority of the samples were exposed to news about Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2 from personal media to a high level and from ad hoc media to a medium level. (2) The majority of samples had correct perceptions about Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2. (3) The majority of samples strongly agreed with every category of the proposed desired image of Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2. (4) Overall, the present image of Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2 is good. (5) The factor of sex was not related to image of Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2. The factor of educational level was related to opinions about news management and communication channels. The factor of age was related to opinions about image of personnel, news management and communication channels. The factor of work position was related to opinions about news management and communication channels. The factor of income was related to opinions about the image of Prachin Buri Primary Education Service Area Office 2en_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143915.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons