Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12039
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรทิพย์ ดีสมโชค | th_TH |
dc.contributor.author | รัศมิ์ลภัส เอี่ยมเกศแก้ว, 2530- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-05-24T08:28:04Z | - |
dc.date.available | 2024-05-24T08:28:04Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12039 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้สื่อโฆษณาของบริษัท ผลธัญญะ จำกัด (มหาชน) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ถึงพ.ศ. 2556 2) วิเคราะห์เนื้อหาโฆษณาที่ปรากฏในนิตยสาร และ 3) ศึกษาแนวทางการวางแผนสื่อโฆษณาที่เหมาะสมในอนาคตของบริษัท ผลธัญญะ จำกัด (มหาชน) การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม โดยเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ 1) กลุ่มสื่อโฆษณาสิ่งพิมพ์ จากสื่อโฆษณาของบริษัท ผลธัญญะ จำกัด (มหาชน) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556 2) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบด้วยผู้บริหารและพนักงานที่เกี่ยวข้องในการวางแผนสื่อโฆษณา โดยเป็นผู้กำหนดนโยบายและเกี่ยวข้องในการวางแผนสื่อโฆษณา รวมทั้งสิ้น 5 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบวิเคราะห์รหัสและแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1) การใช้สื่อโฆษณาของบริษัท ผลธัญญะ จำกัด (มหาชน) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ถึงพ.ศ. 2556 เน้นไปที่สื่อสิ่งพิมพ์เป็นหลัก คิดเป็นร้อยละ 91 และมีการใช้งบประมาณโฆษณา จากปี พ.ศ.2551 เพิ่มเป็น 20 เท่า ในปี พ.ศ. 2555 เพราะยอดขายสินค้าเพิ่มสูงขึ้น 2) เนื้อหาโฆษณาของบริษัท ผลธัญญะ จำกัด (มหาชน) ที่ปรากฏในนิตยสารเซพตี้ไลฟ์ พบว่า มีพื้นที่การลงโฆษณามากที่สุด และมีตำแหน่งการลงโฆษณาที่ใช้มากที่สุด คือ หน้าเนื้อใน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเตือนความทรงจำมากที่สุด การนำเสนอเนื้อหาเน้นแบบอิงความจริงและมีกลยุทธ์การนำเสนอโฆษณาโดยใช้ความหลากหลายของสินค้าที่บริษัทจำหน่าย 3) แนวทางการวางแผนสื่อโฆษณาที่เหมาะสมต่อบริษัท ผลธัญญะ จำกัด (มหาชน) ในอนาคต พบว่า ให้ความสำคัญกับสื่อออนไลน์ เพื่อให้เข้าถึงเป้าหมายที่กว้างมากขึ้น ความถี่ในการเลือกลงโฆษณาจะเริ่มเปลี่ยนเป็น 6 เดือนต่อครั้ง แต่ยังคงรักษาความต่อเนื่องในการลงโฆษณา คือ ลงโฆษณาตลอดทั้งปี เพื่อสร้างการจดจำอย่างต่อเนื่อง และจะมีเนื้อหาการลงโฆษณาในด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การวางแผนสื่อโฆษณา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การวางแผนสื่อโฆษณาของบริษัท ผลธัญญะ จำกัด (มหาชน) | th_TH |
dc.title.alternative | Advertising media planning at Pholdhanya Public Company Limited | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were 1) to study Pholdhanya Public Company Limited's use of advertising media from 2008 to 2013; 2) to analyze the content of Pholdhanya advertisements that appeared in magazines; and 3) to suggest alternatives for the company's advertising media planning in the future. This was a qualitative research. The sample population, chosen through purposive sampling, consisted of 2 groups: 1) print media advertisements of Pholdhanya Public Company Limited from 2008 to 2013; and 2) 5 key informants, consisting of executives and personnel of Pholdhanya Public Company Limited who were in charge of advertising planning and advertising policy making. The data collection tools consisted of a coded analysis form and a semi-structured interview form. Data were analyzed using frequency, percentage and descriptive analysis. The results showed that 1) Most of the advertising done by Pholdhanya from 2008 to 2013 was print media advertising, accounting for 91 per cent of the advertising budget. The company's advertising spending rose by 20 times from 2008 to 2012 because the company's sales income increased. 2) Most of the space of the company's advertisements in Safety Life magazine was advertising content. Most of the ads were on inner pages for the purpose of reminding customers as much as possible. Most of the content was presented realistically and the main advertising tactic was to demonstrate the wide variety of products sold by the company. 3) The most appropriate approach for Pholdhanya to use for its media planning in the future is to pay attention to online media in order to reach a broader target audience. The company will start to select its advertisements more frequently at an interval of 6 months but will continue with its policy of advertising all year long in order to create good recall. Pholdhanya will also start to add more corporate social responsibility messages to its advertising content | en_US |
Appears in Collections: | Comm-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
136689.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License