Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12041
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัตนา ดวงแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | ภัณฑิรา กุลศิริ, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-05-27T06:35:18Z | - |
dc.date.available | 2024-05-27T06:35:18Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12041 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์ของสมรรถนะตามสายงานสอนของครูผู้ดูแลเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) ศึกษาลำดับความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะตามสายงานสอนของครูผู้ดูแลเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ 3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะตามสายงานสอนของครูผู้ดูแลเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประชากร คือ ครูผู้ดูแลเด็กจำนวน 44 คน จากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปีการศึกษา 2564 และผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการสัมภาษณ์ จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์ของสมรรถนะตามสายงานสอนของครูผู้ดูแลเด็ก ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงเท่ากับ .88 และ .95 ตามลำดับ และแบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดัชนีความต้องการจำเป็น และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) สภาพที่เป็นจริงของสมรรถนะตามสายงานสอนของครูผู้ดูแลเด็ก ภาพรวมอยู่ในระดับมาก และสภาพที่พึงประสงค์ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะตามสายงานสอนของครูผู้ดูแลเด็ก เรียงตามลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ และการบริหารจัดการชั้นเรียน และ 3) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะตามสายงานสอนของครูผู้ดูแลเด็ก ได้แก่ ผู้บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กควรสนับสนุนครูให้เข้ารับการพัฒนาเกี่ยวกับหลักสูตรและการสอนระดับปฐมวัยที่เข้มข้นอย่างทั่วถึง กระตุ้นครูให้พัฒนาความรู้และความสามารถในการจัดการเรียน การสอนที่เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง แสวงหาอัตรากำลังเพิ่มในตำแหน่งธุรการ สำรวจความต้องการในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครู จัดสรรงบประมาณตามข้อตกลงในแผนการพัฒนาตนเองของครู กำหนดนโยบายให้ครูพัฒนาวิชาชีพด้วยชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูและผู้ปกครอง กระตุ้นครูให้จัดกิจกรรมที่เด็กเป็นผู้คิดและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองโดยเน้นความร่วมมือ และพัฒนาครูเกี่ยวกับการบริหารจัดการชั้นเรียนระดับปฐมวัยที่มีประสิทธิภาพ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ครูปฐมวัย--การฝึกอบรมในงาน | th_TH |
dc.subject | ครู--การประเมินศักยภาพตนเอง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะตามสายงานสอนของครูผู้ดูแลเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Need assessment for development of childcare teacher’s functional competencies at preschool children development centers under local administration 0rganizations in Khian Sa District, Surat Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were 1) to study the current and desired conditions of childcare teachers’ functional competencies at preschool children development centers under local administration organizations in Khian Sa District, Surat Thani Province; 2) to study the sequence of needs in developing childcare teachers’ functional competencies at preschool children development centers; and 3) to study guidelines for development of childcare teachers’ functional competencies at preschool children development centers. The population consisted of 44 childcare teachers from preschool children development centers under local administration organizations in Khian Sa District, Surat Thani Province in the academic year 2021. The key informants for interviews were 8 experts. The research instruments were a questionnaire on the current and desired conditions of childcare teachers’ functional competencies, with reliability coefficients of .88 and .95 respectively, and a semi-structured interview form. The research data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, modified PNI, and content analysis. The research findings were as follows: 1) the overall current condition of childcare teachers’ functional competencies was at the high level and the overall desired condition was at the highest level; 2) the childcare teachers’ functional competency aspects were ranked based on their identified needs from the highest to the lowest as follows: the teaching and learning management, the personal and professional development, and the classroom management; and 3) guidelines for development of childcare teachers’ functional competencies were as follows: the administrators of preschool children development centers should support their teachers to attend an intensive early childhood curriculum and instruction workshop thoroughly, encourage them to develop knowledge and instructional competences suitable for change, procure manpower in an administrative assistant position, explore their needs for instructional development, allocate the budget according to the teacher’s self - development plan, establish a teacher professional development policy through a professional learning community, create a good relationship between teachers and parents, motivate them to arrange their instruction that enhances the desirable attributes of preschool children, encourage them to use active learning and collaborative activities for the students, and develop them on effective preschool classroom management. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License