Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12052
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัทยา แก้วสาร, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | นุสรา ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | พัชรี พรหมสุวงศ์, 2523- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-05-27T08:40:03Z | - |
dc.date.available | 2024-05-27T08:40:03Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12052 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความสามารถของผู้ดูแลเด็กโรคหืดระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ 3 ด้าน คือ 1) ด้านความรู้ 2) ด้านการปฏิบัติ และ 3) ด้านการจัดการในเด็กโรคหืด ก่อนและหลังการใช้โปรแกรม โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มผู้ดูแลเด็กโรคหืด ประกอบด้วยบิดา มารดา หรือผู้ดูแลเด็กอย่างต่อเนื่อง 1 ปีขึ้นไป ที่เข้ารับการรักษาที่คลินิกโรคระบบทางเดินหายใจเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี ตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไปจำนวน 92 คน คำนวณกลุ่มตัวอย่างคัดเลือกแบบเจาะจง คำนวณจำนวน 46 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 23 คน คือ 1) กลุ่มควบคุม และ 2) กลุ่มทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 ชุด ประกอบด้วย 1) โปรแกรมการจัดการดูแลเด็กโรคหืดสำหรับผู้ดูแล และ 2) แบบประเมินความสามารถของผู้ดูแลโดยผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงของเนื้อหาเท่ากับ 1 และ 0.94 ตามลำดับ และค่าความเที่ยงมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาค เท่ากับ 0.82 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) ก่อนเข้าร่วมโปรแกรม ผู้ดูแลเด็กโรคหืดกลุ่มเปรียบเทียบและกลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยด้านความรู้ การปฏิบัติ และการจัดการ ไม่มีความแตกต่างกัน และ 2) ก่อนและหลังการเข้าโปรแกรม ผู้ดูแลเด็กโรคหืดกลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยด้านความรู้ การปฏิบัติ และการจัดการ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p < 0.05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ | th_TH |
dc.subject | ผู้ดูแลเด็ก--ไทย--อุบลราชธานี | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมการพัฒนาความสามารถของผู้ดูแลเด็กโรคหืด โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Effectiveness of a capability-development program for caregivers of children with asthma at Sanpasitthiprasong Hospital, Ubon Ratchathani | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This was quasi-experimental research to compare the abilities of caregivers of children with asthma between the experimental group and the control group in terms of 1) knowledge; 2) practice; and 3) management of children with asthma, before and after taking a capability development program at Sunpasitthiprasong Hospital. The sample consisted of 92 caregivers of children with asthma (parents or caregivers who had been caring for the child for at least one year or more) who had come in to receive care at the Pediatric Pulmonary Disease Clinic of Sunpasitthiprasong Hospital 2 or more times, out of which 46 were selected by purposive sampling, and they were divided into 2 groups: the experimental group (23) who took the program, and the comparative group (23). The research instruments included 1) a capability development program about management of children with asthma for caregivers and 2) an evaluation form to assess the caregiver’s abilities. The content validity was assessed by 5 experts and the instruments received CVI scores of 1 and 0.94 and a Cronbach’s alpha coefficient of 0.82. Data were analyzed using descriptive statistics and t-test. The results showed that 1) before participating in the program, there was no significant difference in the average scores for knowledge, practice and management between the experimental group and the comparative group. 2) The average scores for knowledge, practice and management of the caregivers in the experimental group before and after participating in the program differed to a statistically significant degree at p-value < 0.05 | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License