Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12053
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดวงกมล ปิ่นเฉลียว, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ทิพย์ฆัมพร เกษโกมล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | อุไรวรรณ ฐิติวัฒนากูล, 2515- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-05-27T08:47:32Z | - |
dc.date.available | 2024-05-27T08:47:32Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12053 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของโปรแกรมการพัฒนาทุนชีวิตโดยใช้การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อำเภอนาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนในพื้นที่อำเภอนาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 31 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 16 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 15 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมการพัฒนาทุนชีวิตโดยใช้การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยใช้แนวคิดทุนชีวิต ของสุริยเดว ทรีปาตี (2552) ซึ่งประกอบด้วย พลัง 5 ด้าน ได้แก่ พลังตัวตน พลังครอบครัว พลังสร้างปัญญา พลังเพื่อนและกิจกรรม และพลังชุมชน ร่วมกับการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของกรมสุขภาพจิต มีระยะเวลาดำเนินการ 6 สัปดาห์ และ 2) แบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 1 และค่าความเที่ยงเท่ากับ .82 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติทดสอบวิลค็อกซัน และสถิติแมนวิทเนย์ ผลการศึกษา พบว่า หลังการทดลอง นักเรียนในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์สูงกว่าก่อนทดลอง และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม | th_TH |
dc.subject | การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น--การป้องกัน | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมการพัฒนาทุนชีวิตโดยใช้การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อำเภอนาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of a life assets development program using participatory learning on pregnancy preventive behaviors in teenagers Na Chaluai District, Ubon Ratchathani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this quasi-experimental research was to study the effects of a life assets development program using participatory learning on the pregnancy preventive behaviors in teenagers Na Chaluai District, Ubon Ratchathani Province. The sample population consisted of 31 female students who were studying at grade Mattayom 2 in the 2021 academic year in Nachaluai District, Ubon Ratchathani Province, selected by simple random sampling. They were divided into an experimental group of 16 students and a comparative group of 15 students. The research instruments included: 1) The life assets development program by using participatory learning which was developed based on the life assets concept of Suriyadew Trepati (2009) and consisted of 5 powers: personal image power, family power, wisdom building power, peer and activities power, and community power. The duration of the program was 7 weeks; and 2) a pregnancy preventive behaviors questionnaire. Content validity index was 1.00 and the reliability was .82. Data were analyzed by descriptive statistics, the Wilcoxon Signed - Rank Test and the Mann - Whitney U Test. The results revealed as follows: After attending the program, pregnancy preventive behaviors of students in the experimental group were significantly higher than before attending the program, and higher than the comparative group (p<.001). | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 22.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License