Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12061
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ฐาปิตา ไชยวัง, 2536- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-05-28T03:25:29Z | - |
dc.date.available | 2024-05-28T03:25:29Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12061 | - |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินโครงการอาสาสมัครแรงงานต้านภัยยาเสพติดจังหวัดลำปาง (2) ศึกษาปัญหาการดำเนินโครงการอาสาสมัครแรงงานต้านภัยยาเสพติดจังหวัดลำปาง และ (3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาโครงการอาสาสมัครแรงงานต้านภัยยาเสพติดจังหวัดลำปาง การศึกษานี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ แรงงานจังหวัดและเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบโครงการ 2 คน อาสาสมัครแรงงานจังหวัดลำปาง 100 คน นายจ้างในสถานประกอบการที่มีลูกจ้างต่ำกว่า 10 คน ลงมาที่อาสาสมัครแรงงานเข้าไปให้ความรู้ 160 คน ลูกจ้าง จำนวน 694 คน แรงงานนอกระบบ 529 คน กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจง คือ แรงงานจังหวัดและเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบโครงการ 2 คน ประเภทอื่น ๆ คิดสัดส่วนตามจำนวนอำเภอ ได้แก่ อาสาสมัครแรงงานจำนวน 13 คน นายจ้างจำนวน 13 คน ลูกจ้างจำนวน 13 คน แรงงานนอกระบบจำนวน 13 คน รวมทั้งสิ้น 54 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้าง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและการวิเคราะห์แบบอุปนัย ผลการศึกษาพบว่า (1) การประเมินโครงการอาสาสมัครแรงงานต้านภัยยาเสพติดจังหวัดลำปาง 1) ด้านสภาพแวดล้อม มีความสอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนต่าง ๆ และสภาพแวดล้อมภายนอก ทำให้มีความชัดเจน เหมาะสม กับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ 2) ด้านปัจจัยนำเข้า อาคารสถานที่ ระยะเวลามีความเหมาะสม ส่วนด้านบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ยังไม่เพียงพอ 3) ด้านกระบวนการ มีการบริหารขับเคลื่อนโครงการระดับจังหวัดและพื้นที่ การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดอาสาสมัครแรงงานสามารถให้ความรู้ และเป็นที่ปรึกษาที่ดี โครงการมีการประเมินผลเฉพาะระหว่างและสิ้นสุดการดำเนินงาน 4) ด้านผลผลิต ผลการดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ผู้เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการ นายจ้าง ลูกจ้าง และแรงงานนอกระบบรับรู้แนวทางการป้องกันปัญหายาเสพติด และ (2) ปัญหาสำคัญที่พบคือ รูปแบบโครงการเป็นการป้องกันระดับต้นทาง และ (3) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาโครงการ คือ ภาครัฐควรบูรณาการทางานร่วมกันในการปราบปรามยาเสพติด มุ่งเน้นการบังคับใช้กฎหมายให้มีความเข้มงวด รวมถึงการจัดสรรงบประมาณ บุคลากร และสื่อประชาสัมพันธ์ และอบรมการให้บริการให้แก่อาสาสมัครแรงงาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โครงการอาสาสมัครแรงงานต้านภัยยาเสพติดจังหวัดลำปาง--การประเมิน | th_TH |
dc.subject | การควบคุมยาเสพติด--ไทย--ลำปาง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | การประเมินผลโครงการอาสาสมัครแรงงานต้านภัยยาเสพติดในจังหวัดลำปาง | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of labour volunteer for drug resistance project in Lampang Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to evaluate labour volunteer for drug resistance project in Lampang Province (2) to study problems of implementation of labour volunteer for drug resistance project in Lampang Province, and (3) to recommend development guidelines for labour volunteer for drug resistance project in Lampang Province. This study applied qualitative method model. The population for this study was head of provincial labour office and 1 responsible officials, 100 labour volunteers for drug resistance project, owner of companies which hired less than 10 employees, 160 labour volunteers who transferred knowledge to employees, 694 employees, 529 informal workers. Purposive samples selected were provincial labour office and 1 responsible officials, and other groups of selection based on number of districts. Those were 13 labour volunteers for drug resistance project, 13 owner of companies, 13 employees, 13 informal workers, altogether totally 54 samples. The research instrument was an structured interview form. Data was collected from documents and in- depth interviewing. The data analysis employed content analysis and inductive summary. The results of this study revealed that (1) the evaluation labour volunteer for drug resistance project in Lampang Province showed the following; 1) enironment perstective, it aligned with policies, strategies, plans and external environment that support the achievement of ultimate goals, 2) input perspective; infrastructure and period of implementation were appropriate but personnel, budget, material and public relations still insufficient; 3) process perspective, the area based driven was launched, focused the targets, labor volunteers could transfer the knowledge well and be good advisor. The project evaluation was done only in between and at the end; 4) output perspective, the implementation was achieved as set, the relevant satisfied with the implementation, owners, workers and informal workers acknowledged drug preventive guidelines (2) major problems found were the activities launched could prevent only at basic stage not the holistic prevention, and (3) recommendations for development guideline were the Government should integrate mutual implementation on drug prevention and suppression, focus on serious enforcement as well as consider the allocations of budget, personnel, public relation medias and provide knowledge for labor volunteers | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License