Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12063
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตติศักดิ์ แสนบุตร, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-05-28T04:01:25Z-
dc.date.available2024-05-28T04:01:25Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12063-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับขวัญและกำลังใจที่มีความสัมพันธ์ต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในจังหวัดอุดรธานี (2) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในจังหวัดอุดรธานี (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขวัญและกำลังใจกับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในจังหวัดอุดรธานี และ (4) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในจังหวัดอุดรธานี การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ บุคลากรในสังกัดสำนักงานอัยการการสูงสุดที่ปฏิบัติหน้าที่ภายในจังหวัดอุดรธานี จำนวน 6 สำนักงาน จำนวนทั้งสิ้น 285 คน ขนาดของกลุ่มตัวอย่างคำนวณโดยการใช้สูตรของทาโร ยามาเน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 167 คน สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิแบ่งสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนาโดยการหาค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนสถิติเชิงอนุมานใช้การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับของขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในจังหวัดอุดรธานี ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านความมั่นคงในการปฏิบัติงาน รองลงมาคือ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงานในหน่วยงาน และลักษณะงานที่ทำ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ด้านหลักการตอบสนอง (2) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในจังหวัดอุดรธานีพบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านภาระรับผิดชอบ (3) ขวัญและกำลังใจมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูงกับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในจังหวัดอุดรธานี ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และ (4) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาได้แก่ ควรมีการสับเปลี่ยนโยกย้ายพื้นที่การทำงานภายในภูมิภาคบ้างเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานในแต่ละพื้นที่ และควรพัฒนาความรู้เฉพาะตำแหน่งและทักษะที่จำเป็นในการทำงาน เช่น ทักษะด้านเทคโนโลยี เพื่อให้เกิดความรวดเร็วและทันสมัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานอัยการจังหวัดอุดรธานี--ข้าราชการและพนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectขวัญในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleขวัญและกำลังใจที่มีความสัมพันธ์ต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักงานอัยการในจังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeMorale and spirits of working relating the performance of personnel of the Public Prosecutor's Office in Udon Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis objectives of this research were (1) to study the opinions on morale and spirits of working relating the performance of personnel of the Public Prosecutor's Office in Udon Thani Province (2) to study the opinions on the performance level of the personnel of the Public Prosecutor's Office in Udon Thani Province (3) to study the relationship between morale and spitits of working and the performance of personnel of the Public Prosecutor's Office in Udon Thani Province, and (4) to recommend guidelines to enhance the morale and spirits of the personnel of the Public Prosecutor's Office in Udon Thani Province. This study was a quantitative research. The population was personnel working under the responsibility of the Office of the Attorney General in Udon Thani Province, totaling in 6 offices, amounted of 285 people. The sample size was calculated by using Taro Yamane's formula and obtained 167 samples. Sampling method was stratified sampling method. The research instrument was a structured-questionnaire form.The statistics for data analysis employed descriptive statistics such as frequency, mean, percentage and standard deviation and inferential statistic was Pearson's product moment correlation coefficient. The research results revealed that (1) the level of morale and spirits of working relating the performance of personnel of the Public Prosecutor's Office in Udon Thani Province found at the highest mean. Considering each aspect, it was found that the highest mean was work stability, followed by the relationship between colleagues in the department and the work nature and the least mean was the responsiveness (2) the overview of performance level of the personnel of the Public Prosecutor's Office in Udon Thani Province found at the highest mean. The mean of highest value was responsibility principle (3) the morale and spirits correlated positively at high level with the performance of the personnel of the Public Prosecutor's Office in Udon Thani Province at statistically significant level of 0.01, and (4) the recommendation were there should rotate of personnel in the same regional for improving experiences and there should develop knowledge and needed work skill such as technology skill for rapid and up-to-date achievementen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons