Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12070
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุทิน ดาหอม, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-28T06:38:43Z-
dc.date.available2024-05-28T06:38:43Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12070-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มสหวิทยาเขตหลักเมืองเลย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภู (2) ศึกษาการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนของครู และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากับการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนของครู กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้สอนในสถานศึกษา กลุ่มสหวิทยาเขตหลักเมืองเลย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภู จำนวน 261 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนของครู มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .961 และ .960 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ การนำและการมีวิสัยทัศน์เชิงเทคโนโลยี การสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาวิชาชีพด้านเทคโนโลยี การสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีในการวัดผลและประเมินผล การรู้และเข้าใจเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพด้านเทคโนโลยี และการใช้เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการบริหารและปฏิบัติงาน ตามลำดับ (2) การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนของครูโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย คือ การใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยีเพื่อการสอน และการใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างเนื้อหาการสอน ตามลำดับ และ (3) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์ในทางบวกกับการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนของครูในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r =.728).th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษา--ไทย--หนองบัวลำภูth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและการใช้เทคโนโลยีโนการเรียนการสอนของครู กลุ่มสหวิทยาเขตหลักเมืองเลย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภูth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between technology leadership of School administrators and the use of technology instruction of teachers in Lak Mueang Loei Consortium under the Secondary Education Service Area of Loei, Nong Bua Lamphuen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: 1) to study the technology leadership of school administrators in Lak Mueang Loei Consortium under the Secondary Education Service Area of Loei, Nong Bua Lamphu, 2) to study the use of technology in instruction of teachers, and 3) to study the relationship between the technology leadership of school administrators and the use of technology in instruction of teachers. The sample consisted of 261 teachers in Lak Mueang Loei Consortium under the Secondary Education Service Area of Loei, Nong Bua Lamphu, obtained by stratified random sampling based on school size. The research instrument was the questionnaire on the technological leadership of school administrators and the use of technology in instruction of teachers, with reliability coefficients of 0.961 and 0.960, respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson’s product-moment correlation. Research findings showed that (1) both the overall and specific aspects of technological leadership of school administrators were rated at the high level; the specific aspects could be ranked based on their rating means from top to bottom as follows: leading and having vision in technology, supporting the use of technology in instruction, technological professional development, supporting the use of technology for measurement and evaluation, having knowledge and understanding of professional code of conduct in technology, and the use of technology for supporting management and operations, respectively; (2) both the overall and specific aspects of the use of technology in instruction of teachers were at the high level; the specific aspects could be ranked based on their rating means from top to bottom as follows: the use of technology for developing the technology skills, the use of technology for pedagogy and the use of technology for creating the teaching content, respectively; and (3) the technological leadership of school administrators correlated positively with the use of technology in instruction of teachers at the high level which was significant at the .01 level. ( r =.728)en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons