Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12089
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กฤติญดา เกิดลาภผล | th_TH |
dc.contributor.author | เบญญาทิพย์ แย้มเหมือน, 2527- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-05-30T08:38:06Z | - |
dc.date.available | 2024-05-30T08:38:06Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12089 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญและกระบวนการในการสรรหาผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญทั้งในประเทศและต่างประเทศ (2) ศึกษาเปรียบเทียบกระบวนการสรรหา คณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2560 (3) วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการสรรหาคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 และ (4) เสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการเพิ่มบทบาทองค์กรภาคประชาชนให้มีส่วนร่วมในกระบวนการสรรหาคณะกรรมการ ป.ป.ช. การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2560 ในหมวดที่เกี่ยวข้องกับการสรรหาคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผลการศึกษาพบว่า (1) แนวคิด ทฤษฎีอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนของรุสโซ ทฤษฎีหลักการแบ่งแยกอำนาจของมองเตสกิเออ และกระบวนการในการสรรหาผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญของประเทศอินโดนีเซียและประเทศเกาหลีใต้ สามารถอธิบายกระบวนการสรรหาผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรต่อต้านการทุจริตที่มีจุดยึดโยงกับประชาชน และมีการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกันได้ (2) เมื่อเปรียบเทียบกระบวนการสรรหาคณะกรรมการ ป.ป.ช.ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2560 พบว่า การสรรหาคณะกรรมการ ป.ป.ช.มีจุดยึดโยงกับประชาชนที่น้อยลงและการให้อำนาจองค์กรอื่น ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการสรรหาไม่มีความสมดุล ซึ่งอาจทำให้ถูกแทรกแซงจากฝ่ายอื่นใด อันส่งผลให้กระบวนการสรรหาคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 นั้น บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกมีคุณสมบัติไม่เหมาะสมในการที่จะเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ (3) จากการวิเคราะห์ปัญหา พบว่า ที่มาของกรรมการ ป.ป.ช. ขาดการเชื่อมโยงของประชาชนและมีการเข้ามาเกี่ยวข้องของฝ่ายบริหารมากเกินไป และ (4) นำข้อเสนอแนะไปแก้ไขและเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 203 และมาตรา 204ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสรรหาฯ และผู้ให้ความเห็นชอบ เพื่อก่อให้เกิดความสมดุลในการสรรหาและป้องกันการแทรกแซงของฝ่ายใด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ--การสรรหา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | การสรรหาคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 | th_TH |
dc.title.alternative | Selection of the National Anti-Corruption Commission under the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this independent study aims to (1) study the concept of independent organs under the Constitution and selection process of holders of position in such organs in Thailand and another countries, (2) compare between selection process of the National Anti-Corruption Commission (NACC) under the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2540, B.E. 2550 and B.E. 2560, (3) analyze the problem about selection process of NACC under the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 and (4) suggest appropriate guidelines for increasing the role of public through public participation in selection process of NACC. The independent study was conducted by using a qualitative research methodology, collected and analyzed data from documentations, research and the provisions of the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2540, B.E. 2550 and B.E. 2560 related to the selection part of the NACC. The results of the study were as follows: (1) the concept and sovereignty theory by Rousseau, separation of powers theory by Montesquieu, and selection process of holders of position in independent organs under the Constitution of Indonesia and South Korea could explain about the selection process of holders of position in anti-corruption bodies that not only public participation, but also check and balance mechanism; (2) the result of the comparative study on selection process of the NACC under the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2540, B.E. 2550 and B.E. 2560 were that the people were less role in participation to the process which may cause it was interfered from other parties; as a result, according to the selection process for the NACC under the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560, the selected persons were not qualified to enter and perform duties; (3) from the analysis of problem, it was found that the source of the NACC members lacked the connection of the people and too much involvement of the Executives; and (4) the recommendations were to amend the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560, Section 203 and Section 204 in relation to the Selection Committee of the NACC and endorsers for not only check and balance in selection, but also prevent interference from any party. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 46.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License