Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1208
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดจิต เจนนพกาญจน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจิตรา วีรบุรีนนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเบญจพร ทองกลม, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-28T08:25:59Z-
dc.date.available2022-08-28T08:25:59Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1208-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประวัติความเป็นมาในการทำสวนกล้วยหอมทอง ของกลุ่มเกษตรกรทำสวนทุ่งคาวัด (2) ภูมิปัญญาในการทำสวนกล้วยหอมทองของกลุ่มเกษตรกรทำสวนทุ่ง คาวัด (3) แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญาในการทำสวนกล้วยหอมทองของกลุ่มเกษตรกรทำสวน ทุ่งคาวัด (4) แนวโน้มของการทำสวนกล้วยหอมทองของกลุ่มเกษตรกรทำสวนทุ่งคาวัดในอนาคต วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายคือ ผู้รู้จำนวน 5 คน ผู้นำในชุมชนทุ่งคา วัด จำนวน 5 คน เกษตรกรทุ่งคาวัด จำนวน 15 คน สหกรณ์จังหวัดชุมพร จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 30 คน โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก การสังเกต และ การสำรวจชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนาผลการวิจัยพบว่า (1) ประวัติความเป็นมาของกล้วยหอมทองมีลักษณะทางพฤกษศาสตร์เป็นไม้ล้มลุกที่มีลำต้นเทียม รู้จักมานานกว่า 4,000 ปี มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นพันธุ์พืชที่นิยมปลูกเกือบทุกภาคของไทย และที่ภาคใต้การปลูกกล้วยหอมทองมีมากอยู่ที่อำเภอละแม อำเภอหลังสวน อำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร และอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี กล้วยหอมทองที่มีชื่อเสียงในต่างประเทศมาจากตำบลทุ่งคาวัด อำเภอละแม จังหวัดชุมพร โดยมีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มเกษตรกร ก่อตั้งเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2536 เดิมชื่อ "กลุ่มกล้วยหอมทอง" ต่อมาเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2538 จึงเปลี่ยนชื่อเป็น “กลุ่มเกษตรกรทำสวนทุ่งคาวัด” (2) ภูมิปัญญาในการทำสวนกล้วยหอมทอง พบว่า มีภูมิปัญญาดังนี้ คือ 1) ภูมิปัญญาในการปลูกและขั้นตอนการปลูก 2) ภูมิปัญญาในการดูแลรักษาสวน 3) ภูมิ ปัญญาในการเก็บเกี่ยว 4) ภูมิปัญญาในการในการห่อบรรจุภัณฑ์และขนส่ง 5) ภูมิปัญญาในด้านการตลาด 6) ภูมิปัญญาในการทำอาชีพเสริมรายได้จากสวนกล้วยหอมทอง (3) แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาในการ ทำสวนกล้วยหอมทองของกลุ่มเกษตรกรทำสวนทุ่งคาวัด พบว่า ต้องส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการผลิต ด้านจัดการระบบน้ำ จัดซื้อ ทำปุ๋ยหมัก อบรมสัมมนาจัดทำแปลงต้นแบบเพื่อให้ได้การผลิตที่มีมาตรฐาน (4) แนวโน้มของการทำสวนกล้วยหอมทองของกลุ่มเกษตรกรทำสวนทุ่งคาวัด พบว่าจะมีการขยายพื้นที่การ ปลูก จะมีการขยายการรวมกลุ่มเกษตรกรและการขยายการลงทุน จะเพิ่มผลผลิตและปริมาณการส่งออก การขยายตัวด้านการตลาด การแข่งขันทางการค้า และแนวโน้มด้านราคาผลผลิตที่สูงมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.4-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกล้วย--การปลูกth_TH
dc.titleภูมิปัญญาในการทำสวนกล้วยหอมทอง : กรณีศึกษากลุ่มเกษตรกรทำสวนทุ่งคาวัด อำเภอละแม จังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeThe wisdom about Gros Michel (Kluai Hom Thong) plantations : a case study of Thungkhawat Gardening Management's Group, Lamae District, Chumphon Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.4-
dc.degree.nameศิลปศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the history of Kluai Hom Thong banana cultivation by members of Thungkhawat Gardening Management Group; (2) the local wisdom that the group members use in banana production; (3) approaches for promoting and developing that wisdom; and (4) future trends of the group’s business. This was a qualitative research. The target group consisted of 5 knowledgeable people, 5 community leaders in Thungkhawat, 15 farmers in Thungkhawat, and 5 personnel of Chumphon Provincial Cooperatives Department, for a total of 30. Data were collected from documentary research, in-depth interviews and community observation. Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that: (1) As for the history of the Kluai Hom Thong banana variety, botanically, it is a herbaceous annual with a pseudostem. It has been known for over 4,000 years and is native to Southeast Asia. Kluai Hom Thong bananas are grown in almost every region of Thailand, and the areas with the highest production in the southern region are Lamae, Lang Suan, and Phato Districts in Chumphon Province and Tha Chana District in Surat Thani Province. The bananas produced in Thungkhawat, Lamae District, Chumphon Province are the most well known in export markets. The banana farmers in the area joined together on 12 July 1993 to establish the “Kluai Hom Thong Group.” On 21 March 1995 the name was changed to “Thungkhawat Gardening Management Group.” (2) The wisdom used by the group members consists of 1) planting wisdom and the steps of planting; 2) plantation management wisdom; 3) harvesting wisdom; 4) packaging and transportation wisdom; 5) marketing wisdom; and 6) wisdom in making supplementary income by growing bananas. (3) Approaches for promoting and developing banana production are to improve production quality by improving irrigation management, developing the purchasing system, making compost, and training farmers through seminars and model plantations to raise their quality standards. (4) The future trend is for members of the Thungkhawat Gardening Management Group to expand their production area, expand the group, expand their investments, increase their production volume and export volume, expand their markets, and compete with other producers. The market trend is for banana prices to riseen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (12).pdfเอกสารฉบับเต็ม29.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons