Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1212
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ วิภาวินth_TH
dc.contributor.authorวันเพ็ญ เวชกามา, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-29T01:50:23Z-
dc.date.available2022-08-29T01:50:23Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1212en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการใช้สารสนเทศของเจ้าพนักงานเวชสถิติในโรงพยาบาลสังกัด สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข (2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศของเจ้าพนักงานเวชสถิติในโรงพยาบาลสังกัด สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข และ (3) ศึกษาปัญหาการใช้สารสนเทศของเจ้าพนักงานเวชสถิติในโรงพยาบาล สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข (4) เปรียบเทียบปัญหาการใช้สารสนเทศของเจ้าพนักงานเวชสถิติในโรงพยาบาล สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือเจ้าพนักงานเวชสถิติในโรงพยาบาล สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 817คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้สถิติการทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า เจ้าพนักงานเวชสถิติในโรงพยาบาล สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (1) มีการใช้สารสนเทศโดยรวมในระดับมากจำแนกเป็นรายด้าน พบว่ามีการใช้สารสนเทศด้านเวชระเบียนมากที่สุด รองลงมาเป็นการใช้สารสนเทศด้านเวชสถิติและรายงาน และการใช้สารสนเทศที่มีเนื้อหาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศ จำแนกตามตำแหน่งประสบการณ์ทำงาน ขนาดของโรงพยาบาล และหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน พบว่ามีการใช้สารสนเทศแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (3) ปัญหาการใช้สารสนเทศ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านเนื้อหาสารสนเทศสนับสนุนงานเวชระเบียนในเว็บไซต์ และด้านจำนวนสื่อสิ่งพิมพ์ด้านเวชระเบียน ในห้องสมุด (4) เปรียบเทียบปัญหาการใช้สารสนเทศ พบว่า เจ้าพนักงานเวชสถิติ ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานต่างกันมีปัญหาการใช้สารสนเทศ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในด้านเนื้อหาสารสนเทศและรูปแบบสารสนเทศ ส่วนเจ้าพนักงานเวชสถิติที่มีตำแหน่งต่างกัน ประสบการณ์ทำงานต่างกัน และโรงพยาบาลขนาดต่างกันมีปัญหาการใช้สารสนเทศไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.112en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสารสนเทศทางการแพทย์th_TH
dc.subjectสารสนเทศ--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการใช้สารสนเทศของเจ้าพนักงานเวชสถิติในโรงพยาบาล สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeInformation use by medical record personnel in Hospitals under the Office of the Permanent Secretary for Public Health at the Ministry of Public Healthen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.112-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed (1) to study information use by medical record personnel in hospitals under the Office of the Permanent Secretary for Public Health at the Ministry of Public Health; (2) to compare information use by medical record personnel in hospitals under the Office of the Permanent Secretary for Public Health at the Ministry of Public Health, (3) to study the problems of information use by medical record personnel in hospitals under the Office of the Permanent Secretary for Public Health at the Ministry of Public Health, and (4) to compare the problems of information use by medical record personnel in hospitals under the Office of the Permanent Secretary for Public Health at the Ministry of Public Health. This research was a survey study and the population consisted of 817 medical record personnel in hospitals under the Office of the Permanent Secretary for Public Health at the Ministry of Public Health. The instruments were questionnaires. The statistics used in this study were percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test. The research findings were summarized as follows: Medical record personnel in hospitals under the Office of the Permanent Secretary for Public Health at the Ministry of Public Health (1) use information at the high level, and when classified by each aspect the mostly used were medical records, medical statistics and reports, and information technology. (2) Comparing information use by position, work experience, size of hospital and department was found the overall significantly different. (3) The problems of information use were at the middle level, and they were the aspects of information content for medical records on websites and the number of medical record printed media in libraries. (4) Comparing the problems of information use by department was found the overall significantly different in information contents and information forms, but by position, work experience, size of hospital there was no statistical significance.en_US
dc.contributor.coadvisorธาดาศักดิ์ วชิรปรีชาพงษ์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (1).pdfเอกสารฉบับเต็ม16.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons