Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12133
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | สุวิทย์ ธนวิชากร | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-04T07:52:18Z | - |
dc.date.available | 2024-06-04T07:52:18Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12133 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการเปิดรับสื่อเกี่ยวกับการใช้ สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกร ตำบลทุ่งหลวง อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี 2) พฤติกรรมการเปิดรับสื่อเกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกร ตำบลทุ่งหลวง อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี เมื่อจำแนกตามลักษณะทางประชากรการวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง คือ เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ตำบลทุ่งหลวง อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี จำนวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลาย ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ และไคสแควร์ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรมีพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ โทรทัศน์มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 63.7 พฤติกรรมกรรมการเปิดรับสื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อโทรทัศน์และสื่อบุคคล ส่วนใหญ่ เปิดรับฟังเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 62.2, 62.7 และ 62.5 ตามลำดับ เวลาที่เปิดรับฟังและชมรายการจากสื่อวิทยุกระจายเสียง และโทรทัศน์มากที่สุด คือ ช่วงบ่าย คิดเป็นร้อยละ 29.8 และ 35.5 ส่วนสื่อบุคคล จะเปิดรับเวลากลางคืนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 28.4 สถานที่ในการเปิดรับมากที่สุดทุกสื่อคือ ที่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 76.3, 97.3 และ48.6 ตามลำดับ และได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่มมากขึ้นในทุกสื่อ คิดเป็นร้อยละ 90.8, 88.6 และ 92.0 ตามลำดับ 2) เกษตรกรที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ บุคคลเกี่ยวกับเนื้อหาที่สนใจมากที่สุดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเกษตรกรที่มีรายได้แตกต่างกันมีพฤติกรรมการเปิดรับสื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อโทรทัศน์และสื่อบุคคล ด้านประเภทเนื้อหาที่สนใจ เวลา สถานที่ที่เปิดรับแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สารเคมีทางการเกษตร | th_TH |
dc.subject | ยากำจัดศัตรูพืช | th_TH |
dc.subject | สารเคมี--มาตรการความปลอดภัย | th_TH |
dc.title | การเปิดรับสื่อเกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเกษตรกรของตำบลทุ่งหลวง อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Exposure to media about pesticide use of farmers in Thung Luang Sub-district, Pak Tho District, Ratchaburi Province | en_US |
dc.type | th | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study: 1) media exposure behavior of farmers in Thung Luang Sub-district, Pak Tho District, Ratchaburi Province regarding media about pesticide use; and 2) the relationship between demographic factors and the farmers' media exposure behavior. This was a survey research. The sample population was 400 farmers in Thung Luang Sub-district, Pak Tho District, Ratchaburi Province, who used pesticide, chosen through multi-level sampling. Data were collected using a questionnaire and analyzed by percentage and chi square. The results showed that 1) The medium the farmers were exposed to the most was TV (63.7%). Most of the content they received from radio, TV and personal media was about pesticide use (62.2%, 62.7% and 62.5%, respectively). The time of day most of the farmers were usually exposed to radio and TV media was afternoon (29.8% and 35.5%, respectively) but the time of day they were most exposed to messages from personal media was at night (28.4%). The place where they were exposed to all of the media most was at home (76.3%, 97.3% and 48.6% for radio, TV and personal media, respectively). They reported that they had received more information about pesticide use from radio, TV and personal media (90.8%, 88.6 % and 92.0%, respectively). 2) Differences in educational level were related to differences in the kind of content farmers were most interested in receiving from personal media to a statistically significant degree (p< 0.05). There was also a statistically significant relationship (p<0.05) between the factor of income and the kind of content farmers were interested in receiving, the time of day of receiving, and the place of receiving messages from radio, TV and personal media. | en_US |
Appears in Collections: | Comm-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
136688.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License