Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12147
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภัสวลี นิติเกษตรสุนทร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุษณี เพิ่มดี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-05T03:12:27Z-
dc.date.available2024-06-05T03:12:27Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12147-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พัฒนาการของหุ่นละครเล็กโจหลุยส์ 2) กระบวนการสื่อสารของหุ่นละครเล็กโจหลุยส์ 3) แนวทางการอนุรักษ์หุ่นละครเล็กโจหลุยส์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการแสดง หุ่นละครเล็ก จำนวน 8 คน ผู้ชมการแสดง จำนวน 7 คน และนักวิชาการ จำนวน 2 คน โดยการเลือก แบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1) พัฒนาการของหุ่นละครเล็กโจหลุยส์ สามารถแบ่งออกได้เป็นยุคต่างๆ คือ ยุคก่อตั้ง ยุคต่อสู้ ยุคเฟื่องฟู ยุคซบเซา และยุคฟื้นฟู ซึ่งแต่ละยุคล้วนเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ ก่อให้เกิดหุ่นละครเล็กโจหลุยส์ในปัจจุบัน 2) กระบวนการสื่อสารของหุ่นละครเล็กโจหลุยส์ ประกอบด้วย ผู้ส่งสาร ได้แก่ ศิลปินผู้แสดงหุ่นละครเล็กโจหลุยส์ สาร เป็น เนื้อหาจากวรรณคดี หรือ เนื้อหาที่มีการออกแบบให้เป็นสากล และมีความร่วมสมัยยิ่งขึ้น ช่องทางในการแสดง และสื่อ ได้ขยาย ช่องทางจากเดิมที่เคยเป็นเพียงการแสดงสดเพียงอย่างเดียวให้มีการบันทึกวีซีดี การถ่ายทอดเผยแพร่และ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ ผู้รับสาร ได้แก่ กลุ่มผู้ชมทุกช่วงวัย (3) แนวทางการอนุรักษ์หุ่นละคร เล็กโจหลุยส์ แบ่งออกเป็น 2 แนวทางคือ แนวทางการอนุรักษ์แบบดั้งเดิม ซึ่งเป็นการอนุรักษ์เพื่อดำรง คุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมของการแสดงหุ่นละครเล็กโจหลุยส์ให้คงอยู่โดยไม่ปรับเปลี่ยนรูปแบบ และ แนวทางการอนุรักษ์ด้วยการสร้างรูปแบบใหม่ให้การแสดงหุ่นละครเล็กโจหลุยส์ในรูปแบบของ นาฏกรรมหุ่นละครเล็กบนลานน้ำแข็ง หรือ "โจหลุยส์ออนไอซ์" เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และขยายฐานผู้ชมรุ่นใหม่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.subjectการสื่อสารth_TH
dc.titleการสื่อสารเพื่อการอนุรักษ์หุ่นละครเล็กโจหลุยส์th_TH
dc.title.alternativeCommunication for preservation of Joe Louis Little Pupper Theaterth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the development of the Joe Louis Hoon Lakhon Lek Puppetry Troupe; (2) the process of communication of the Joe Louis Hoon Lakhon Lek Puppetry Troupe; (3) approaches to preserving the art of the Joe Louis Hoon Lakhon Lek Puppetry Troupe. This was a qualitative research. The key informants consisted of 8 experts on Hoon Lakhon Lek puppetry, 7 people who watched the performances, and 2 academics, all chosen through purposive sampling. Data were collected using interview forms and were analyzed through descriptive analysis. The results showed that (1) the evolution of the Joe Louis Hoon Lakhon Lek Puppetry Troupe can be divided into 5 eras: founding, struggling, thriving, declining, and revival, all of which were important components making the Joe Louis Hoon Lakhon Lek Puppetry Troupe what it is today. (2) The communications process consisted of the message senders, in the form of the puppeteers; the message, which was stories from Thai literature or content that was designed to be more contemporary; the channel of communication, which was puppet performances; the medium, which has evolved from live performances only to include video recordings and other public relations media; and the message receivers, who are the general public, composed of people of all ages. (3) There are 2 major ways to preserve the art of the Joe Louis Hoon Lakhon Lek Puppetry Troupe. The conventional way is to uphold and maintain the artistic and cultural value of the art as it is. The other way is to introduce new formats for the puppetry performances, such as the innovation of "Joe Louis on ice" performances to adapt to social changes and attract more new viewersen_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151378.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons