Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1214
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กุลกานต์ อภิวัฒนลังการ | th_TH |
dc.contributor.author | จงกลนี จริตธรรม, 2503- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-29T02:28:22Z | - |
dc.date.available | 2022-08-29T02:28:22Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1214 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (คศ.ม. (การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มึวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความต้องการของบุตรวัยรุ่นต่อการปฏิบัติตน ของบิดามารดาในจังหวัดสมุทรสงคราม ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 2,568 คน ที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพี้นฐานในจังหวัดสมุทรสงคราม กลุ่มตัวอย่างจำนวน 320 คนซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน การศึกษาครั้งนี้เก็บข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนี้อหา และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัย พบว่า ความต้องการของบุตรวัยรุ่นที่มีต่อการปฏิบัติตนของบิดามารดา จำแนกออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ความต้องการของบุตรวัยรุ่นที่มีต่อการปฏิบัติตนของทั้งบิดาและมารดา ความต้องการการปฏิบัติตนจากบิดามากกว่ามารดา และความต้องการการปฏิบัติตนจากมารดามากกว่าบิดา ประเด็นที่บุตรวัยรุ่นต้องการการปฏิบัติตนของทั้งบิดาและมารดามากที่สุด 3 ลำดับแรก คือ 1) การจัดหาอาหารที่บุตรชอบ และมีประโยชน์ 2) การแนะนำอาชีพที่เหมาะสมกับความสามารถ และ 3) การสอนและการเป็นแบบอย่างที่ดีในการเข้าสังคม ในขณะที่ประเด็นที่บุตรวัยรุ่นส่วนใหญ่ต้องการการปฏิบัติตนจากบิดามากกว่ามารดา ได้แก่ 1) การจัดสภาพแวดล้อมให้น่าอยู่ สวยงาม และเป็นระเบียบเรียบร้อย 2) การสอนลักษณะเพื่อนที่ควรคบ และ 3) การมีความยุติธรรมกับลูกทุกคน ส่วนประเด็นที่บุตรวัยรุ่นส่วนใหญ่ต้องการการปฏิบัติตนจากมารดามากกว่าบิดา 3 ลำดับแรก คือ 1) การให้ความรัก ความอบอุ่นห่วงใย 2) การอธิบายเรื่องเพศศึกษาให้เข้าใจ และไม่คลุมเครือ และ 3) สนับสนุนในเรื่องอุปกรณ์การเรียน และเงินทุนการศึกษา | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.282 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | วัยรุ่น--ความสัมพันธ์ในครอบครัว | th_TH |
dc.subject | ความต้องการ (จิตวิทยา) | th_TH |
dc.subject | บิดามารดาและบุตร | th_TH |
dc.title | ความต้องการของบุตรวัยรุ่นต่อการปฏิบัติตนของบิดามารดาในจังหวัดสมุทรสงคราม | th_TH |
dc.title.alternative | Parenting practice needs of adolescent in Samut Songkhram Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2006.282 | - |
dc.degree.name | คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to study parenting practice needs of adolescents in Samut Songkhram Province. The population was 2,568 Mathayomsuksa students in schools under the Office of the Basic Education Commission in Samut Songkhram Province. The sample of 320 students was drawn by using the propotional random sampling. An open-ended questionnaire designed by the researcher was used to collect data. Qualitative data were analyzed by using content analysis and quantitative data were analyzed by using descriptive statistics such as frequency, percentage and mean. The results revealed that three groups of parenting practice needs among adolescents were included in this study: a group of needs required from both parents, a group of needs required from fathers rather than mothers, and along with a group of needs required from mothers rather than fathers. The top three parenting practice needs from both parents were 1) providing them with favorite and nutritious food, 2) leading and convincing them to have appropriate careers according to their abilities and aptitudes, and 3) showing them how to socialize and giving them good examples. Whereas, the parenting practice needs required from fathers rather than mothers were 1) providing them with pleasant, nice, and organized surroundings, 2) elaborating them on the characteristics of good friends, and 3) giving them equal justice. The top three parenting practice needs sought from mothers rather than fathers were 1) giving them plenty of love, warmth, and concerns, 2) clearly explaining to them the idea of sexuality education, and 3) giving them educational equipment and schooling funds. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | จิตตินันท์ เดชะคุปต์ | th_TH |
Appears in Collections: | Hum-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext 99025.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License