Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12170
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวนีย์ อัศวโรจน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัชจิรัฏฐ์ ประมวญผล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-07T06:28:24Z-
dc.date.available2024-06-07T06:28:24Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12170-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะ กฎหมายการชุมนุมสาธารณะของประเทศไทยและของต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศฝรั่งเศสประเทศเกาหลี สาธารณะรัฐประชาชนจีนและประเทศสิงคโปร์ โดยมุ่งเน้นศึกษาการแจ้งการชุมนุม ลักษณะการชุมนุมและสถานที่ชุมนุม เพื่อมาวิเคราะห์ว่ากฎหมายชุมนุมของประเทศไทยเมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายการชุมนุมของต่างประเทศแล้วมีความเหมาะสมหรือไม่ และควรมีลักษณะเช่นใด ผลการศึกษา พบว่า การชุมนุมสาธารณะเป็นสิทธิเสรีภาพของประชาชน แต่ต้องเป็นการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ ซึ่งประเทศไทยได้มีการบัญญัติรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ และได้บัญญัติพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 ขึ้นมาเพื่อดูแลการชุมนุมสาธารณะโดยเฉพาะ เช่นเดียวกันกับนานาประเทศไม่ว่าจะเป็นประเทศฝรั่งเศส ประเทศเกาหลี สาธารณะรัฐประชาชนจีน และประเทศสิงคโปร์ โดยมาตรการในการควบคุมการชุมนุมสาธารณะนั้น จะมีการจำกัดสิทธิและเสรีภาพในการชุมนุมของประชาชนในบางประการโดยมีเหตุผลและหลักการที่สำคัญ คือ ดูแลรักษาความมั่นคงของชาติ รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชนของและสังคม ซึ่งกฎหมายชุมนุมได้ให้สิทธิเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะแก่ประชาชน โดยในส่วนของการแจ้งการชุมนุม ลักษณะชุมนุม และสถานที่ชุมนุมของกฎหมายชุมนุมสาธารณะนั้น ถือว่ามีความสิ่งสำคัญยิ่งต่อสิทธิเสรีภาพในการชุมนุมของประชาชน โดยการบัญญัติกฎหมายการชุมนุมสาธารณะนั้น จะต้องมีความสมดุลกันระหว่างความมั่นคงปลอดภัยของสังคมกับสิทธิเสรีภาพในการชุมนุมของประชาชน ภายใต้หลักความได้สัดส่วน ซึ่ง ผลการศึกษาพบว่าการแจ้งการชุมนุม ลักษณะชุมนุมและสถานที่ชุมนุมตามกฎหมายการชุมนุมของประเทศไทยนั้น ได้มีการจำกัดสิทธิเสรีภาพในการชุมนุมบางประการของประชาชนตามรัฐธรรมนูญข้อเสนอแนะเห็นควร ปรับแก้ไขพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 ในส่วนที่เกี่ยวกับการแจ้งการชุมนุม ลักษณะชุมนุมประกอบสถานที่ชุมนุม ให้มีความเหมาะสม และควรกำหนดเวลาชุมนุม เพื่อไม่กระทบสิทธิของบุคคลอื่น อีกทั้งควรสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งห้ามชุมนุมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectที่ราชพัสดุth_TH
dc.subjectที่ราชพัสดุ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleปัญหาเกี่ยวกับการโอนกรรมสิทธิ์ที่ราชพัสดุ : ศึกษากรณีกฎหมายเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518th_TH
dc.title.alternativeLegal problem concerning transfer of the state land : a case study of Ratchaphatsadu Land Act, B.E. 2518en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156612.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons