Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12186
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกฤษณา บุญเทียม-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-10T03:01:17Z-
dc.date.available2024-06-10T03:01:17Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12186-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง การเพิ่มเจ้าหนี้บุริมสิทธิสามัญในกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และ สิทธิอื่น ๆ : ศึกษากรณีหนี้ตามสัญญาประกันผู้ต้องหาหรือจำเลย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเพิ่มเจ้าหนี้ บุริมสิทธิสามัญในกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และสิทธิอื่น ๆ : ศึกษากรณีหนี้ตามสัญญาประกันผู้ต้องหา หรือจำเลย โดยศึกษาแนวคิด หลักเกณฑ์ในการปล่อยชั่วคราว ลักษณะของสัญญาประกัน ผลของสัญญา ประกัน การบังคับคดีตามสัญญาประกันผู้ต้องหาหรือจำเลยกรณีผิดสัญญาประกันต่อศาลยุติธรรม ตลอดจนการให้หนี้ตามสัญญาประกันเป็นหนี้มีบุริมสิทธิสามัญ เพื่อให้การบังคับตามสัญญาประกัน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร ผลการศึกษาพบว่า การทำสัญญาประกันผู้ต้องหาหรือจำเลยเป็นการทำสัญญาระหว่างรัฐกับ เอกชน เมื่อมีการผิดสัญญาประกันต่อศาลยุติธรรม หัวหน้าสำนักงานประจำศาลยุติธรรมในฐานะเจ้าหนี้ ดำเนินการบังคับคดีได้โดยไม่ต้องฟ้องคดี แต่การทำสัญญาประกันดังกล่าว ศาลไม่อยู่ในฐานะเจ้าหนี้มี ประกันหรือหลักประกัน ไม่มีบุริมสิทธิเหนือทรัพย์สินของผู้ประกันที่นำมาวางไว้ต่อศาลยุติธรรม หรือ ทรัพย์สินอื่น ๆ เจ้าหนี้รายอื่นของผู้ประกันสามารถยึดหรืออายัดทรัพย์สินชำระหนี้ได้ก่อน ผู้ประกันจึงไม่ สนใจที่จะขวนขวายนำตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม อันเกิดผลกระทบต่อผู้เสียหาย หรือผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้องในคดี การบังคับคดีผู้ประกันเกิดความล่าช้าเสียหายไม่มีประสิทธิภาพ มีจำนวนหนี้สูญ และปริมาณคดีค้างการพิจารณาและการบังคับคดีเพิ่มมากขึ้น จึงเห็นควรปรับปรุง กฎหมายด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253 โดยให้เจ้าหนี้ตามสัญญาประกัน ผู้ต้องหาหรือจำเลยเป็นเจ้าหนี้มีบุริมสิทธิสามัญเหนือทรัพย์สินของผู้ประกันที่นำมาวางไว้ต่อศาลยุติธรรม และทรัพย์สินอื่น ๆ ด้วย เพื่อให้การบังคับหนี้ตามสัญญาประกันผู้ต้องหาหรือจำเลยมีประสิทธิภาพ และ เป็นวิธีการที่เกิดผลให้ผู้ประกันนำผู้ต้องหาหรือจำเลยเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม เกิดประโยชน์แก่ ผู้เสียหายและผู้ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งเป็นการรักษาความศักดิ์สิทธิ์ของกระบวนการยุติธรรมในทางอาญาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกฎหมายแพ่งและพาณิชย์--หนี้th_TH
dc.titleการเพิ่มเจ้าหนี้บุริมสิทธิสามัญในกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และสิทธิอื่นๆ : ศึกษากรณีหนี้ตามสัญญาประกันผู้ต้องหาหรือจำเลยth_TH
dc.title.alternativeIncrease in creditors' rights and commercial law and the rights of others : case of the Lease Liability Bail, accused or defendantth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe independent study was conducted to investigate the increase in civil and commercial creditors, preference shares and other rights: The case of the lease liability bail, accused or defendant. The study guidelines for provisional release were appearance of the bail contract, result of bail contracts, the enforcement of contract case against the accused or defendant to the court, the bail contract. As well as a debt owed by the bail contract is incompetent. In order to enforce the bail contract is effective and fast. The study found that the bail contract, the accused of defendant is a contract between the state and private sectors when a breach of contract, the court of justice or head office justice will be payable as the court without prosecution. But such bail contracts the judiciary is not as secured creditors or unsecured. No rights over the assets of the bail to be placed on the judiciary or more other creditors of the insured can seize or freeze assets before settlement. Insurers do not care to take the defendant or the defendant endeavored to justice the impact on the victims or the interests involved in the case. Delay the enforcement of insured losses amounted to bad debt and inefficient about pending cases in court hearings and more. It was agreed to revise the law on amendment of the civil and commercial code as section 253 by a creditor under the bail contract, the accused or the defendant's creditors with preferential rights over common property of the bail to be placed on the judiciary and other property by enforcing the contractual obligation to bail the accused or defendant effectively. And as a result, the security interests of the accused or defendant to bring to justice the interest of the victims and those involved. As well as to maintain the sanctity of the criminal justice systemen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148766.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons