Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12187
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์th_TH
dc.contributor.authorกิตติชัย ไพบูลย์อภิบาลth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-10T03:14:30Z-
dc.date.available2024-06-10T03:14:30Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12187en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง ผลกระทบของพระราชบัญญัติความรับผิดชอบต่อความ เสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการและสาระสำคัญของกฎหมายว่าด้วยความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยของไทยและที่มีบัญญัติไว้ในต่างประเทศ ตลอดจนวิเคราะห์พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 สภาพปัญหา และผลกระทบที่อาจมีขึ้นจากการบังคับใช้ตามกฎหมาย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยวิธีการ วิจัยทางเอกสาร (Documentary Research) โดยการศึกษาค้นคว้าจากตำราทั้งในประเทศและต่างประเทศ ประกอบด้วย หนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ตัวบทกฎหมาย คำพิพากษาของศาล และเอกสารทางวิชาการอื่นๆ ผลการศึกษาพบว่า กฎหมายหลักความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าไม่ปลอดภัย หรือ "product liability" ของต่างประเทศนั้น ถือเป็นหลักการที่ให้ความสำคัญต่อชีวิตและ สุขภาพของประชาชน ซึ่งในหลายประเทศ อาทิ อังกฤษ สหพันธรัฐเยอรมนี ญี่ปุ่น ได้มีกฎหมาย เพื่อให้ความคุ้มครองผู้บริโภคโดยเฉพาะ โดยมีหลักการเป็นสำคัญว่า หากผู้บริโภคได้รับความเสียหายจากการใช้สินค้านั้น ผู้ผลิตหรือผู้ที่เกี่ยวข้องต้องรับผิดจากการศึกษาวิจัยได้มีข้อเสนอแนะเพื่อให้กฎหมายความรับผิดต่อความเสียหาย ที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยมีประสิทธิภาพในประเด็นปัญหาที่ควรนำไปสู่การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายฉบับนี้ คือ ควรให้มีข้อยกเว้นความรับผิดของผู้ผลิตและผู้ประกอบการในเรื่องของการใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่ในขณะนั้นนำมาใช้ในการผลิตอย่างสุจริต ซึ่งในต่างประเทศยอมรับภายใต้หลักการผลิตที่สุจริต แม้จะนำสืบยากแต่ก็ควรมีการ กำหนดไว้ เพราะเป็นสิ่งที่จะสร้างให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตเพื่อให้ได้รับการยอมรับจากผู้บริโภคและศาล ทั้งหมดนี้เพื่อนำไปสู่การบังคับใช้กฎหมายที่มีประสิทธิภาพและสร้างความยุติธรรม ให้เกิดขึ้นระหว่างผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตกับผู้บริโภคนั่นเองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleผลกระทบของพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 ที่มีต่อผู้ประกอบการth_TH
dc.title.alternativeEffect of product liability law B.E. 2551 to entrepreneursen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to study the progress and main idea of Product Liability law of Thailand and other jurisdiction as well as scrutinize the problem and impact caused by the enforcement of The Product Liability Act B.E. 2551 This Independent study is a qualitative research conducted by the method of documentary research from both international and domestic documents, including books, articles, research, thesis, law, court ruling and other academic documents. The research found that, Product liability is the concept emphasizing on the benefit of life and health of people. Many countries such as United Kingdom, Germany and Japan have introduced the laws which specifically protected the consumer right. The main idea of this type of law can be concluded that if the consumer has the damage caused by product usage. The manufacturer or relevant parties have to take responsibility for such damage. This study also provided the recommendation in order to adjust and improve the product liability law. This research proposes that the manufacturer and seller's liability should be exempted in case of the limitation of knowledge and technology at the time the product was produced, or state of the art concept, which have been widely accepted in product liability law worldwide. Despite the difficulties of investigating and proving, the state of the art concept should be effective in product liability law because it will prompt the new technology development. In addition, this concept will lead to the effectiveness of law enforcement as well as the balanced justice between consumer and manufactureren_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
142299.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons