Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12189
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ ปิติยาศักดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเกียรติศักดิ์ ช้างเยาว์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-10T03:27:23Z-
dc.date.available2024-06-10T03:27:23Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12189-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงขอบเขตและข้อจำกัดความรับผิด ต่อไปรษณียภัณฑ์ของไปรษณีย์ไทยที่บริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด มีการให้บริการขนส่งอยู่ในปัจจุบันว่า มีความรับผิดต่อไปรษณียภัณฑ์ต่าง ๆ เพียงใด และเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงกฎหมาย โดย เสนอแนะแนวทางวิธีการดำเนินงานเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ประชาชน หลักที่สำคัญของการวิจัย คือ เพื่อให้บริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด ตลอดจนพนักงานไปรษณีย์ได้ตระหนักและมีความรับผิดชอบ ต่อไปรษณียภัณฑ์มากขึ้น รวมไปถึงการบริการที่บริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด ได้ให้บริการกับไปรษณียภัณฑ์ ทั้งหมด ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ พระราชบัญญัติไปรษณีย์ พ.ศ.2477 และไปรษณียนิเทศ พ.ศ. 2557 โดยศึกษาค้นคว้า จากตัวบทกฎหมาย หนังสือ บทความ เอกสารวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์และข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายไปรษณีย์ของประเทศเยอรมันและ ประเทศอังกฤษ ผลการศึกษา พบว่า พระราชบัญญัติไปรษณีย์ พ.ศ. 2477 ประกอบกับ ไปรษณีย์นิเทศ พ.ศ. 2557 ซึ่งเป็นสมุดกฎ ออกโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติไปรษณีย์ พ.ศ.2477 มีบทบัญญัติแห่ง พระราชบัญญัติไปรษณีย์ พ.ศ. 2477 ที่จำกัดวามรับผิดไว้ ผู้ศึกษาวิจัย จึงได้มีข้อเสนอแนะในการแก้ไข ปรับปรุงกฎหมาย ดังกล่าว และเสนอแนวทางในการดำเนินงานไปรษณีย์ไว้ โดยให้ยกเลิกบทบัญญัติ ที่จำกัดความรับผิดนั้น โดยนัยและป้องกันไม่ให้พนักงานไปรษณีย์ของหน่วยงานกระทำการ โดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อที่เกิดความเสียหาย สูญหาย ส่งช้า ส่งผิด ต่อไปรษณียภัณฑ์ และหากมีเหตุ ความเสียหาย สูญหาย ส่งช้า ส่งผิด ต่อไปรษณียภัณฑ์ บริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด ต้องร่วมรับผิดด้วย และ นำหลักการของการแข่งขันในเชิงธุรกิจอย่างยุติธรรมเสมอภาค ระหว่างภาครัฐและเอกชนของต่างประเทศ ที่เปรียบเทียบไว้มาปรับใช้และลดอำนาจการผูกขาด และเปลี่ยนมาเป็นผู้ควบคุมและพันธมิตร กับภาคเอกชนแทนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความรับผิด (กฎหมาย)--ไทยth_TH
dc.subjectความรับผิดชอบในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจth_TH
dc.titleความรับผิดต่อไปรษณียภัณฑ์ของไปรษณีย์ไทยตามพระราชบัญญัติไปรษณีย์th_TH
dc.title.alternativeLiability of Thailand Post Co., Ltd. towards postal packages pursuant to Postal Actth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this independent study is to study the scope and limitation of liabilities of Thailand Post in respect of postal packages that are under the provision of delivery service by Thailand Post Co., Ltd., to acknowledge the scope of such liability and also for the purpose of updating and amending the laws or proposing operational guidelines to ensure the fairness towards the public. The fundamental principle for this study is for Thailand Post Co., Ltd. and its personnel to realize and to take more responsible for the postal packages and also for the improvement of services provided by Thailand Post Co., Ltd. relating to the postal packages. This independent study is a qualitative research conducted through review and research of relevant laws in Thailand which are Postal Act B.E. 2477 (1934) and Postal Supervision Regulation B.E. 2557 (2014), through the study and research of the legal provisions, text books, journals, academic articles, researches, thesis and information available online both in Thai and English and study of the comparative postal laws of Germany and the United Kingdom. It is found from the study that, in relation to the Postal Act B.E. 2477 (1934) together with Postal Supervision Regulation B.E. 2557 (2014) which was issued by virtue of the former, the Postal Act B.E. 2477 (1934) contains liability- limiting provisions. It is hereby proposed by this study that such law should be amended and also the operational guidelines for Thailand Post Co., Ltd. should be specified. The provision limiting the liability should be deleted and that will impliedly prevent the personnel of Thailand Post Co., Ltd. from intentionally or negligently causing any damage, loss, delay in delivery, mistaken delivery of the postal packages. Should such damage, loss, delay in delivery, mistaken delivery of the postal package arises, Thailand Post Co., Ltd. shall be jointly liable. The principles of fair business competition implemented in other countries shall be applied to enhance the equality between the government and private sectors and reduce monopolization by Thailand Post Co., Ltd. which should be acting as the supervisor and the partner of the private sector.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158868.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons