Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12193
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุมาศ ขัดเงางามth_TH
dc.contributor.authorจันทรา เดชกรกฎth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-10T06:30:49Z-
dc.date.available2024-06-10T06:30:49Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12193en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง การใช้ดุลพินิจของศาลในกรณีมัดจำและเบี้ยปรับมี วัตถุประสงค์เพื่อทราบแนวคิดการใช้ดุลพินิจ ความสำคัญ หลักในการใช้ดุลพินิจ ทฤษฎีกฎหมาย หลักการตีความกฎหมาย หลักสุจริต(Good Faith) หลักการอุดช่องว่างของกฎหมาย หลักกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 เพื่อทราบความหมาย ความแตกต่างของมัดจำและเบี้ยปรับ การวิเคราะห์แนวทางการใช้ดุลพินิจของศาลให้สอดคล้องกับมโนธรรม ศีลธรรมและความต้องการของคู่สัญญา โดยไม่เข้าไปแทรกแซงเจตนารมณ์ของคู่สัญญาและไม่ขัดต่อหลักพื้นฐานของสัญญาในเรื่องหลักความศักดิ์สิทธิ์แห่งการแสดงเจตนา (The Autonomy of the Will) และหลักเสรีภาพ (Freedom of contract) การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร (Documentary Research) โดยศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบจากเอกสารที่เป็นตัวบทกฎหมาย ตำราวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความ คำพิพากษา ความเห็นทางกฎหมายและ ผลงานทางวิชาการอื่นๆตลอดจนข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆทางอินเตอร์เน็ตทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศผลการศึกษาค้นคว้าอิสระพบว่าพระราชบัญญัติข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ.2540 บัญญัติขึ้นให้ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจในการพิจารณาพิพากษาคดีอย่างเต็มที่ว่าข้อสัญญาหรือข้อตกลงใดที่เป็นธรรมหรือไม่เป็นธรรม นอกจากนี้หากมัดจำและเบี้ยปรับที่จะริบนั้นสูงเกินส่วนศาลสามารถใช้ดุลพินิจในการปรับลดลงได้ ซึ่งกรณีมัดจำนั้นศาลไม่น่าจะใช้ดุลพินิจในการปรับลดลงได้ อันเนื่องมาจากมัดจำเป็นการประกันความเสียหาย ดังนั้นการเปิดโอกาสให้ศาลสามารถ ใช้ดุลพินิจจึงอาจส่งผลกระทบต่อหลักพื้นฐานในการทำสัญญาในเรื่องหลักความศักดิ์สิทธิ์แห่งการแสดงเจตนา (The Autonomy of the Will) และหลักเสรีภาพ (Freedom of contract)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleการใช้ดุลพินิจของศาลในกรณีมัดจำและเบี้ยปรับth_TH
dc.title.alternativeDiscretion of court in case of earnest and stipulated penaltyen_US
dc.typethesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study the idea of discretion, importance and principle of discretion and to study theory of law, principle of good faith, gap of law, principle of interpretaion,the Unfair of Contract Act B.E.2540 (1997), in order to understand the meaning and the difference of earnest and stipulated penalty. In addition, this research are also to study the discretion of court concerning consciousness and morality, the intension of parties in contract without intervention of parties, consent to the principle of contract about autonomy of the will and freedom of contract. research by analyzing and company, law analysis, thesis, court judgement and the other information from internet both in Thai and English related to earnest and stipulated penalty. The result of this research found that the Unfair of Contract Act B.E.2540 (1997) legislated, the discretion of court judgment was fully in contract or fairly agreement or unfairly agreement which empowered to the court that if earnest and stipulated penalty was at high amount, the court can be use the discretion to reduce this amout in fact the court is not intervene in earnest in case of earnest. This earnest is the guarantee of damage. In this regard, if the court empowered to judge the appropriation of earnest, it can be conflict to the autonomy of the will and freedom of contract. This independent study is a qualitative research based on the documentary.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
135428.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons