Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1219
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดจิต เจนนพกาญจน์th_TH
dc.contributor.authorพระแครอล บิลบรี, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-29T03:04:13Z-
dc.date.available2022-08-29T03:04:13Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1219en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สำรวจพระพุทธรูปที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัวทรงโปรดฯ ให้สร้างระหว่าง พ.ศ.2411-2453 (2) ศึกษาพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเกี่ยวกับการเปลี่ยนรูปแบบพระพุทธรูป ให้มีลักษณะเป็นมนุษย์มากยิ่งขึ้น (3) เปรียบเทียบลักษณะพระพุทธรูปในพระราชดำริกับพระพุทธรูปที่พระองค์ทรงโปรดฯ ให้สร้างในรัชสมัยของพระองค์ก่อนหน้าที่จะทรงมีพระราชดำริ (4) ศึกษาผลของพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการสร้างพระพุทธรูปที่มีลักษณะตามพระราชดำริ (5) ศึกษาผลกระทบจากการสร้างพระพุทธรูปอันเกิดจากพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักวิชาการ 6 คน ได้แก่ ภัณฑารักษ์ 2 คน ศาสตราจารย์ 1 คน รองศาสตราจารย์ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ 1 คน ผู้ช่วยศาสตราจารย์โบราณคดี 1 คน อาจารย์ประจำคณะพุทธศาสตร์ 1 คน เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึก แบบสังเกต และแบบสำรวจพระพุทธรูป การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาผลการวิจัยพบว่า (1) พระพุทธรูปที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดฯ ให้สร้างระหว่าง พ.ศ. 2411-2453 มี 22 องค์ (2) พระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัวเกี่ยวกับการเปลี่ยนรูปแบบพระพุทธรูปว่าทรง “อยากเห็นพระพุทธรูปเป็นคน มีใบหน้าเป็นคนฉลาด อดทน มีความคิดไม่ใช่ทำหน้าบึ้ง ไม่ใช่นั่งยิ้มกริ้ม ไม่ใช่นั่งหลับ และมีสติสัมปชัญญะ” จึงเป็นเหตุให้มีการสร้างพระพุทธรูปในพระราชดำริ (3) เปรียบเทียบลักษณะพระพุทธรูปที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัวทรงโปรดฯ ให้สร้างในรัชสมัยของพระองค์ก่อนหน้าที่จะทรงมีพระราชดำริ โดยภาพรวมมีพระเกศาขมวด ไม่มีอุษณีษะ พระพักตร์กลม จีวรมีริ้ว หลังมีพระราชดำริ พระพุทธรูปมีลักษณะสมจริงมากยิ่งขึ้น (4) ผลของพระราชดำริ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวกับการสร้างพระพุทธรูปที่มีลักษณะตามพระราชดำริ โดยมีพระพุทธรูป ที่สร้างตามพระราชดำริ สำเร็จ 6 องค์ (5) ผลกระทบที่เกิดจากการสร้างพระพุทธรูปตามพระราชดำริ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ส่งผลกระทบกับพุทธศิลป์คือทำให้หยุดชะงักในการสร้างสรรค์พระพุทธรูปแบบศิลปะรัตนโกสินทร์ตอนกลางจนถึงปัจจุบัน ทางด้านสังคม ทำให้เริ่มยุคพุทธศิลป์เชิงสัจนิยมขึ้นทางวัฒนธรรม มีการเปิดกว้าง ยอมรับในรูปแบบศิลปะที่แตกต่างมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.113en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพระพุทธรูปth_TH
dc.titleพระพุทธรูปลักษณะแบบใหม่ตามพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวth_TH
dc.title.alternativeKing Chulalongkorn's stylistic changes to Buddhist iconographyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.113-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe present research aimed to study (1) the total number of Buddha images cast by King Chulalongkorn between B.E. 2411-2453 (C.E. 1868-1910) (2) King Chulalongkorn’s idea to change the iconographic style of the Buddha image to be more human in appearance (3) to compare King Chulalongkorn’s idealistic image to those images cast prior to his idea (4) the product of King Chulalongkorn’s idea (5) the repercussions that arose from casting King Chulalongkorn’s ideal Buddha image. A qualitative research method was employed with 6 academics i.e., 2 museum curators, 2 ArtHistory Achedemics, 1 Archeologist and 1 Buddhist Studies instructor. Research tools include in-depth interviews, Buddha image survey and observation. Information analysis is a descriptive analysis. The results showed that (1) King Chulalongkorn ordered the casting of 22 Buddha images between B.E. 2411-2453 (C.E. 1868-1910) (2) King Chulalongkorn’s desire “to see the Buddha as a human, with an intelligent human face, full of perseverance, mindful and reflective” was the impetus for the revised Buddha image(s) (3) the comparative characteristics of the Buddha images cast on the orders of King Chulalongkorn, before he conceived the idea of a revised image, in general, reflect King Mongkut’s preferred style: curled hair, no protuberance, round face, semi-realistic folds in the robes. (4) The product of King Chulalongkorn’s idea to cast a realistic Buddha image resulted in 6 Buddha images (5) the repercussions of casting Buddha images according to King Chulalongkorn’s idea had effects on Buddhist imagery, bringing about an end in the search for new styles of mid-Ratanakosin era Buddha images, until the present; on society, introducing a new period of realism in Buddhist art; on culture, heralding a new era of openness towards different artistic styles.en_US
dc.contributor.coadvisorจิตรา วีรบุรีนนท์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (6).pdfเอกสารฉบับเต็ม19.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons