Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12213
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิติพงศ์ หังสพฤกษ์th_TH
dc.contributor.authorนลินญา สุทธิพงค์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-11T03:59:32Z-
dc.date.available2024-06-11T03:59:32Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12213en_US
dc.description.abstractเนื่องจากยังไม่มีกฎหมายฉบับใดบัญญัติผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานไว้ ทำให้เกิดความยุ่งยากในการตีความ รวมทั้งยังก่อให้เกิดการนัดหยุดงานที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายขึ้นบ่อยครั้ง ดังนั้นการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักกฎหมายเกี่ยวกับการนัดหยุดงานตามอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 และฉบับที่ 98 รวมทั้งศึกษาและวิเคราะห์ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานตามกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ของประเทศไทยแล้วนำมาเปรียบเทียบกับผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานตามกฎหมายแรงงานของสาธารณรัฐฝรั่งเศส และกฎหมายแรงงานของประเทศสหรัฐอเมริกาการศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้ เป็นการวิจัยทางกฎหมายด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งใช้วิธีการวิจัยเอกสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยการรวบรวมข้อมูลจากหนังสือ เอกสารทางวิชาการ แนวคิด ทฤษฎี บทความทางกฎหมาย รวมทั้งเว็บไซด์ต่างๆ และการสัมภาษณ์นักวิชาการที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในเรื่องดังกล่าว จากการศึกษาก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และสามารถกำหนดผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานตามกฎหมายไทยให้มีความชัดเจนและเหมาะสมยิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดการปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน และผู้ใช้แรงงานได้ทราบถึงผลทางกฎหมายที่เกิดขึ้นในระหว่างการนัดหยุดงาน อีกทั้งสามารถนำมาเป็นแนวทางในการกำหนดมาตรการป้องกันและเยียวยาการนัดหยุดงานได้ ซึ่งผู้เขียนเสนอให้มีการปรับปรุงกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ในส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น การนัดหยุดงานไม่ทำให้สัญญาจ้างแรงงานสิ้นสุด การจ้างลูกจ้างทดแทนลูกจ้างที่นัดหยุดงาน ค่าจ้างระหว่างการนัดหยุดงาน รวมถึงการป้องกันและการเยียวยาการนัดหยุดงานในกิจการบริการสาธารณะที่จำเป็นโดยกำหนดให้มีการบริการขั้นต่ำ หรือการเข้าดำเนินการแทน เป็นต้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการนัดหยุดงานth_TH
dc.subjectการนัดหยุดงาน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานth_TH
dc.title.alternativeLegal consequences of strikeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeSince there is no law regarding the legal consequences of a strike, it causes the complexity in statutory interpretation including many unlawful strikes. The purpose of this research is to study the principle of law concerning a strike under the International Labour Organization Convention No. 87 and 98. The research also includes the study and analysis of legal consequences of a strike under Thai labour relation law compare to French labour law and American labour law. This independent study is a qualitative research conducted based on documentary research from both Thai and English sources including text books, academic papers, concepts, theories, law articles, websites, and interview of the scholars. and proper legal consequences of a strike under Thai law in order to formulate direction of a legal action. Labourers will also learn about the legal consequences of a strike and use as a guideline to create prevention and remedy measures of a strike. The author proposes that some parts of Thai labour law need revision. For example, a strike will not result in a termination in an employment agreement, an employment of substitute worker during a strike, a payment during a strike, and the prevention and remedy measures of a strike in fundamental public services by providing minimum services or taking over, etc.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128257.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons