Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12215
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภานุมาศ ขัดเงางามth_TH
dc.contributor.authorบุษกร แช่มโสภาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-11T04:24:41Z-
dc.date.available2024-06-11T04:24:41Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12215en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องบทบาทของพนักงานอัยการในการคุ้มครองผู้บริโภค มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความเป็นมา แนวคิด ทฤษฎี หลักกฎหมาย เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคบทบาทของพนักงานอัยการในการคุ้มครองผู้บริโภค วิเคราะห์และ เปรียบเทียบบทบาทของ พนักงานอัยการในการคุ้มครองผู้บริโภคของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญี่ปุ่น และประเทศไทย ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทของพนักงานอัยการในการคุ้มครองผู้บริโภค การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีค้นคว้าทางด้านเอกสาร ศึกษา ค้นคว้า รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลจากตัวบทกฎหมาย ตํารา วิทยานิพนธ์ เอกสารทางวิชาการ ความเห็นของนักวิชาการ บทความจากวารสารกฎหมาย นิตยสาร สิ่งพิมพ์ต่างๆ ระเบียบ รวมทั้ง ข้อมูลจากระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผลการศึกษาพบว่าการให้ความคุ้มครองผู้บริโภคที่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบธุรกิจ ผู้ผลิต หรือผู้ขายสินค้าหรือบริการ และได้รับความเดือดร้อน หรือเสียหายจากการบริโภค สินค้าหรือบริการให้ได้รับความเป็นธรรม และสามารถเยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้บริโภคที่มาร้อง ทุกข์ที่สํานักงานอัยการได้อย่างรวดเร็ว จึงควรที่จะมีการแก้ไขกฎหมาย คือ พระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ.2553 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติ วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 และพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก สินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ.2551 เพื่อให้อํานาจพนักงานอัยการในการฟ้องดําเนินคดีแก่ผู้ที่ละเมิดสิทธิ ของผู้บริโภค และเรียกค่าเสียหายแทนผู้บริโภคได้โดยตรง ทําให้ผู้บริโภคได้รับความช่วยเหลือ อย่างสะดวกและรวดเร็วต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอัยการth_TH
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภคth_TH
dc.titleบทบาทของพนักงานอัยการในการคุ้มครองผู้บริโภคth_TH
dc.title.alternativeRole of Public Prosecutors in consumer protectionth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this paper is to present an independent study which concentrates on the role of the public prosecutor organization in the protection of consumers. To this end, it involves a discussion of the background, concepts, theories and legal principles regarding consumer protection, as well as a comparative analysis of the role of public prosecutors in the protection of consumers in three different states: the United States, Japan and Thailand. In addition, this paper also addresses underlying problems and makes recommendations in respect of the role of public prosecutors regarding the protection of consumers. This independent study involved quantitative research based on document studies, data collection and data analysis of legislation, materials, dissertations, academic works, academic commentary, articles from law reviews and journals, regulations and other publications including digital databases and online resources. The results show that consumers who are taken advantage of and suffer injury as a result of the acts of business operators, manufacturers, sellers or any persons rendering services should receive protection once their complaints are submitted at the public prosecutor's office. This paper suggests that there should be a change to the following current laws: Public Prosecution Organ and Public Prosecutors Act, B.E. 2553 (2010), Consumer Protection Act, B.E. 2522 (1979), Consumer Case Procedure Act, B.E.2551 (2008) and The Product Liability Act B.E. 2551 (2008). The proposed amendment is to grant public prosecutors authority to initiate proceedings against those engaging in unlawful or fraudulent business practices and to seek legal remedies on behalf of consumers directly so as to ensure the swift and efficient resolution of disputes and ensure justice for all consumers.eu_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151388.pdf19.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons