Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12216
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธวัชชัย สุวรรณพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิภา ส่งสัมพันธ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-11T04:42:38Z-
dc.date.available2024-06-11T04:42:38Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12216-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัญหาการบังคับตามคำชี้ขาด อนุญาโตตุลาการต่างประเทศในประเทศไทยตามพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 และอนุสัญญาว่าด้วยการยอมรับนับถือ การใช้บังคับคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ (Convention on Recognition and Enforcement of Foreign Arbitral Awards - New York Jone 10, 1958) วิธีวิจัย ศึกษาดำเนินการด้วยการวิจัยเอกสารโดยศึกษาหาข้อมูลจากกฎหมายไทยและ ต่างประเทศ คำพิพากษาฎีกา และข้อบังคับของสถาบันอนุญาโตตุลาการ กระทรวงยุติธรรม อนุสัญญา New York Convention ปัญหาจากการศึกษาพบว่าอนุญาโตตุลาการไม่สามารถหรือไม่มีอำนาจในการบังคับ ตามคำชี้ขาดของตนได้เอง คู่พิพาทฝ่ายที่ชนะคดีข้อพิพาทต้องไปยืนคำร้องต่อศาลให้ศาลมีคำ พิพากษาตามคำชี้ขาด แล้วจึงให้ศาลออกหมายบังคับคดีได้ จึงเกิดปัญหาข้อขัดข้องหลายประการ ได้แก่ ปัญหาเรื่องยื่นคำร้องต่อศาลเพื่อขอบังคับตามคำชี้ขาดและปัญหาเรื่องการตีความในเรื่อง สัญญาหลัก ซึ่งเป็นสัญญาให้มีการเอาวิธีการอนุญาโตตุลาการมาใช้ระงับข้อพิพาทไม่อาจบังคับ ใช้ได้ เนื่องจากขัดกับความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีงามหรือต่อกฎหมายเป็นผลให้ไม่อาจ บังคับตามคำชี้ขาดได้ในที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอนุญาโตตุลาการและการตัดสินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleปัญหาการบังคับตามคำชี้ขาดอนุญาโตตุลาการต่างประเทศth_TH
dc.title.alternativeProblems on enforcement of Arbitral Awardsth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research is aimed to study problems on enforcement of foreign arbitral award in Thailand under Arbitration Act B.E. 2545 and Convention on Recognition and Enforcement of Foreign Arbitral Awards, Newyork June 10, 1958. The method of study is proceeded by studying and gathering information from Thai laws, Arbitration Rules of the Arbitration Institute, Office of the Judiciary and New York Convention. From the Study, it is found that the party who is successful in arbitration is not able or lacks of authority to enforce its arbitral award. The claimant who is awarded is required to submit his motion to the court for passing a judgement in pursuant to the award and then request the court to issue the writ of execution. In this connection, it comes to problems regarding jurisdiction of the court to be requested for passing the judgement as well as the interpretation of the main agreement that the arbitration clause is contained as to whether it is against the public orders, morals or laws which finally may affect the arbitral award becomes unenforceableen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
129129.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons