Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12220
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยฉัตร ล้อมชวการth_TH
dc.contributor.authorทรงยศ ตันติสุวิทย์กุลth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-06-13T03:39:29Z-
dc.date.available2024-06-13T03:39:29Z-
dc.date.issued2567-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12220en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) รูปแบบการนำเสนอและเทคนิคการเล่าเรื่องเพื่อสอดแทรกการขัดเกลาทางสังคมและ 2) บทบาทในการขัดเกลาทางสังคมของภาพยนตร์จีนเรื่องคนเล็กหมัดเทวดา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ แหล่งข้อมูลคือ ภาพยนตร์จีนเรื่องคนเล็กหมัดเทวดา (2547) เครื่องมือที่ใช้คือ แบบวิเคราะห์ภาพยนตร์  โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ตัวบท และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการสร้างข้อสรุปผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการนำเสนอและเทคนิคการเล่าเรื่องเพื่อสอดแทรกการขัดเกลาทางสังคมพบว่า (1) เป็นภาพยนตร์จีน กำลังภายในแนว ตลก (2)โครงสร้างการเล่าเรื่องใช้วิธีการกำหนดแก่นหลักของเรื่องเป็นประเภทศีลธรรมจรรยา แก่นรองเป็นประเภทความรักและอุดมการณ์ (3) การออกแบบโครงเรื่องสอดคล้องตั้งแต่การเปิดเรื่อง การพัฒนาเหตุการณ์ ภาวะวิกฤติและการคลี่คลายจนถึงการปิดเรื่อง (4) การแบ่งตัวละครแบ่งเป็นตัวละครหลัก ตัวประกอบหลัก ตัวประกอบฉาก (5) การออกแบบบทสนทนาเริ่มตั้งแต่ที่มาของเรื่อง (6) ความขัดแย้งทุกประเภท ได้แก่ ความขัดแย้งระหว่างตัวละคร ความขัดแย้งภายในจิตใจ ความขัดแย้งกับพลังภายนอก และความขัดแย้งกับระบบหรือสังคม (7) การออกแบบฉากและสถานที่มีความสอดคล้อง ได้แก่ ลักษณะชุมชนเมืองและชุมชนชนบท การแบ่งตามช่วงเวลา ได้แก่ ช่วงเวลาปกติและช่วงเวลาต่อสู้ และ 2) บทบาทในการขัดเกลาทางสังคมของภาพยนตร์จีนเรื่องคนเล็กหมัดเทวดาใช้วิธีการคือ (1) วิธีการสื่อความหมายผ่านสัญญะต่างๆ ที่ประกอบด้วยความหมายแฝงต่างๆ ได้แก่ อมยิ้มเป็นสัญญะของตัวแทนคำขอบคุณที่ได้รับความช่วยเหลือ หนังสือเคล็ดวิชาฝ่ามือเทวดาเป็นสัญญะของวิทยายุทธที่เป็นยอดวิชาของฝ่ายธรรมะ(2) คำสอนเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชน 12 ประการเรียงตามลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านความขยันหมั่นเพียรและความพยายาม ด้านความรับผิดชอบ ด้านความเสียสละ เอื้อเฟื้อและแบ่งปัน ด้านความซื่อสัตย์และซื่อตรง ด้านความอดทนและอดกลั้น ด้านความสามัคคีร่วมมือร่วมใจ ด้านความคิดสร้างสรรค์ ด้านการเคารพกฎและกติกาของสังคม ด้านการมีจิตสำนึกต่อส่วนรวม ด้านความอ่อนน้อม ด้านภาวะผู้นำ และด้านระเบียบวินัยth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.subjectบทภาพยนตร์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์เนื้อหาและบทบาทการขัดเกลาทางสังคมของภาพยนตร์จีน เรื่อง “คนเล็กหมัดเทวดา”th_TH
dc.title.alternativeContent Analysis and Analysis of the Role the Chinese Film “Kung Fu Hustle” Plays in Socializationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the presentation style and storytelling techniques used in the film “Kung Fu Hustle” to infuse messages about socialization, and 2) the role the film “Kung Fu Hustle” plays in socialization. This was qualitative research. The source of data was the Chinese film “Kung Fu Hustle” (2004). The research instrument was a cinematic analysis form used to analyze the movie’s plot, scenes, themes and dialogue. Data were analyzed by drawing conclusions.The findings were: 1) presentation style and storytelling techniques (1) “Kung Fu Hustle” is a humorous Chinese martial arts movie; (2) the storytelling structure set a moral tale as the core theme, with love and ideals as the secondary themes; (3) the plot was designed with the conventional sequences of exposition, rising action, climax, falling action and resolution; (4) the characters consisted of the protagonist, sidekicks, and orbital characters; (5) dialogue design began at the origin of the story; (6) all types of conflicts were incorporated, including conflicts between characters, internal psychological conflict, conflict with outside powers, and conflict with the system or society; and (7) the scenery and places depicted included all the elements of urban communities and rural communities, and the times depicted included both normal times and times of battle. 2) The role the film plays in socialization- (1) meaning is transmitted through symbolism, such as a smile signifying “thank you for your help” and the Buddhist Palm handbook as a symbol of the ultimate secrets of combat on the side of Dharma; (2) the movie teaches 12 aspects of personal development to young viewers. In order from most to least, these attributes are: diligence and effort, responsibility, sacrifice, compassion and sharing, honesty and loyalty, fortitude and perseverance, unity and cooperation, creativity, compliance with the law and social norms, social conscience for the common good, humility, leadership, and discipline.en_US
dc.description.degreenameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นศ.ม. (การบูรณาการการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2567th_TH
dc.description.degreelevelปริญญาโทth_TH
dc.description.degreedisciplineนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (การบูรณาการการสื่อสาร)th_TH
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2641500059.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.