Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12222
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพลสราญ สราญรมย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฐิตามินทร์ คงสำราญ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-06-13T07:48:16Z-
dc.date.available2024-06-13T07:48:16Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12222-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้วัตฤประสงค์เพื่อศึกษาการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนในประเด็นต่อไปนี้ (1) ความรู้และแหล่งความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี (2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีการผลิตมด็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี (3) การยอมรับการใช้เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี และ (4) ปัญหาเกี่ขวกับการผถิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี ประชากรที่ใช้ในกรวิจัยครั้งนี้คือ เกษตรกรในอำเภอเมืองสุพรรณบุรี ที่ขึ้นทะเบียนเป็นสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชน ในปี พ.ศ. 2562 จำนวน 149 คน กำหนดจำนวนตัวอย่างตามสูตรทาโร ยามาเน่ ความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.05 ได้จำนวน 109 คน ทำการกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการกลุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัย พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาข อายุเฉลี่ย 50.94 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 ประสบการณ์ในการปลูกข้าวเฉลี่ย 22.33 ปี จำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.62 คน แรงงานจ้างเฉลี่ย 1.58 คน รายได้จากการขายข้าวเฉลี่ย 7,269.58 บาท ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 4,125.55 บาท (1) สมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนมีความรู้อยู่ในระดับมาก โดยฉพาะประเด็นในด้านวิชาการหลังการเก็บเกี่ยว (2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีอยู่ในระดับปานกลาง โดยการดูแลรักษาอยู่ในระดับมากกว่าข้ออื่น ๆ (3) การยอมรับเทคโนโลยีและกรนำไปปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด โดยการยอมรับที่มากกว่าประเด็นอื่น ๆ คือ ด้านการเตรียมดิน ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีในเชิงปฏิบัติ ได้แก่ อายุ จำนวนแรงงานในครัวเรือน รายได้จากการขายข้าวในรอบปีที่ผ่านมา และการเข้ร่วมฝึกอบรม สัมมนา ส่วนประสบการณ์ในการปลูกข้าว จำนวนสมาชิกในครัวเรือน การเข้าร่วมประชุม และความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีมีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับการยอมรับเทคโนโลยี และ (4) เกษตรกรมีปัญหาในรื่องฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงไป คือน้ำน้อยและฝนแล้ง และไม่สามารถควบคุมการระบาดของโรคและแมลงได้ โดยมีข้อเสนอแนะว่าศูนย์ข้าวชุมชนควรปรับแนวคิดและกระบวนการผลิตตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำของเกษตรกร เพื่อยกระดับมาตรฐานสินค้าและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า ซึ่งส่งผลให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectข้าว--การผลิต--ไทยth_TH
dc.subjectข้าว--เมล็ดพันธุ์th_TH
dc.titleการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนในอำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeGood quality rice seed production by the members of community rice centers in Mueang Distict, Suphanburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study good quality rice seed production by the members of community rice centers in the following aspects: (1) knowledge and knowledge resources of good quality seed production technology, (2) opinions on good quality rice seed production technology, (3) the adoption of good quality rice seed production technology, and (4) problems regarding good quality rice seed production. The population of this research were 149 farmers from Mueang District, Suphan Buri who registered as a member of community rice centers in the year 2019. The sample group of 109 members was determined by Taro Yamane’s formula with an error of 0.05 level and simple random sampling method was used for selection. Data were collected by conducting interview Statistics used were frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The results revealed that most of the farmers were male with the average age of 50.94 years, finished primary education and had the average experience of rice production for 22.33 years. The averages numbers of household members and hiring labor were 4.62 and 1.58 persons respectively. The average revenue from rice selling in the previous year was 7,269.58 Baht while the average cost of production was 4,125.55 Baht. (1) The members of the community rice centers had high level of knowledge especially in post-harvesting knowledge. (2) The opinion on good quality rice seed production technology was indicated at a moderate level. (3) The adoption and application of technology were stated at the highest level; soil preparation was adopted higher than other aspects. The factors that had positive relationship with technology adoption at statistically significant level of 0.05 , were age, number of household labor, rice income of previous year, and training/seminar participation. Rice production experience, household family member, frequent of meeting participation, and knowledge of good quality rice seed production had negative relationship with the technology adoption. Season changes (less water/draught), uncontrollable disease and insect pandemic were the problems encountered. The farmers’ concept, production process from the beginning to the end to upgrade product standardization and add product value for higher income should be modifieden_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons