Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12251
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์th_TH
dc.contributor.authorสุวิไล จันทร์สนอง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-06-19T03:00:33Z-
dc.date.available2024-06-19T03:00:33Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12251-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการพหุปัญญากับการสอนปกติ (2) เปรียบเทียบเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการพหุปัญญากับการสอนปกติ และ (3) เปรียบเทียบเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการพหุปัญญา ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการพหุปัญญากับการสอนปกติแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการพหุปัญญากับการสอนแบบปกติไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ(3) นักเรียนที่ได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการพหุปัญญามีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectพหุปัญญาth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการพหุปัญญาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์พนมทวน จังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of organizing integrated multiple intelligence learning process on science learning achievement and attitude towards science of Mathayom Suksa II students at Suksasongkroh Phanomthuan School in Kanchanaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.contributor.coadvisorสุจินต์ วิศวธีรานนท์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons