Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12264
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกล้า ทองขาวth_TH
dc.contributor.authorจุฬาลักษณ์ พงษ์สังข์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-06-19T07:08:43Z-
dc.date.available2024-06-19T07:08:43Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12264-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.sponsorshipการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลต่อกระบวนการบริหารทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษาขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดอุดรธานี (2)เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อกระบวนการบริหารทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษาขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดอุดรธานีระหว่างนายกองค์การบริหารส่วนตำบล ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อกระบวนการบริหารทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษาของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดอุดรธานีระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติ (4)ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะในการบริหารทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษาของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดอุดรธานี ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลมีความเห็นต่อกระบวนการบริหารทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษาขององค์การบริหารส่วนตำบลโดยภาพรวมในระดับปานกลาง (2) บุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลมีความคิดเห็นต่อกระบวนการบริหารทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษาโดยภาพรวมไม่ต่างกัน แต่ความเห็นต่อด้านการบริหารทรัพยากรประเภททรัพยากรข้อสนเทศระหว่างนายกองค์การบริหารส่วนตำบลกับสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) บุคลากรฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติมีความคิดเห็นต่อกระบวนการบริหารทรัพยากรทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษาโดยภาพรวมไม่ต่างกัน แต่ความเห็นด้านการบริหารทรัพยากรประเภททรัพยากรข้อสนเทศแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (4) ปัญหาในการบริหารทรัพยากรพบว่า บุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลขาดความรู้ ความเข้าใจและขาดแนวทางที่ชัดเจนในกระบวนการบริหารทรัพยากร เพื่อการจัดการศึกษาและเสนอแนะให้พัฒนาบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลให้มีความรู้ ความเข้าใจและกำหนดแนวทางการบริหารทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษาให้ชัดเจนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียนth_TH
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางth_TH
dc.titleผลการจัดประสบการณ์การเขียนร่วมกันตามแนวการสอนภาษาแบบธรรมชาติ ที่มีต่อความสามารถด้านการเขียนของเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดไม้ตราสมาชิกการาม จังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeThe effects of shared-writing experiences based on whole language approach on preschool children's writing ability at Wat Maitar Smachikaram School in Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.contributor.coadvisorไพโรจน์ กลิ่นกุหลาบth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons