Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12275
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุณี ภู่สีม่วงth_TH
dc.contributor.authorศิริธร แก้วเนตรth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-06-20T02:48:34Z-
dc.date.available2024-06-20T02:48:34Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12275en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาค่าพารามิเตอร์ของน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดด้วยเทคนิดแท่นลอยน้ำ และ (2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียของหญ้าแฝกสายพันธุ์สุราษฎร์ ในโรงงานผลิตปูเทียมแช่เยือกแข็งด้วยเทคนิคแท่นลอยน้ำ การดำเนินการวิจัยโดยการใช้หญ้าแฝกสายพันธุ์สุราษฎร์ธานีอายุ 3 สัปดาห์ ทำการทคลองเป็น 2 ช่วง ช่วงที่ 1 คือช่วงทคลอง ทำการทคลองเป็นเวลา 1 เดือน ที่ขนาคบ่อทคลอง ฐานกลมขนาคเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.70 เมตร และสูง 0.30 เมตร บรรจุน้ำเสีย 100 ลิตร ประกอบด้วยชุดควบคุมและดที่ปลูกด้วยหญ้าแฝกจำนวน 3 บ่อ พบว่า หญ้าแฝกสายพันธ์สุราษฎร์ธานีสามารถเจริญเติบโตและบำบัดน้ำเสียได้ ช่วงที่ 2 คือช่วงใช้กับน้ำเสียของโรงงาน ทำการทคลองเป็นระยะเวลา 3 เดือน ทั้งนี้บ่อ 1 และบ่อ 2 มีปริมาตร 21,000 ลิตร ปลูกด้วยหญ้าแฝกจำนวน 12,600 ต้น บนแท่นลอยน้ำ ขนาดกว้าง 1.08 ยาว 4.12 เมตร จำนวน 4 แท่น บ่อ 3 มีปริมาตร 27,825 ลิตร ปลูกหญ้าแฝกจำนวน 16,69 ต้น บนแท่นลอยน้ำ ขนาดกว้าง 1.08 ยาว 4.12 เมตร จำนวน 4 แท่น มีค่าอัตราการไหลเฉลี่ยของน้ำเข้าเท่ากับ 60 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การบำบัดน้ำเสียจากโรงงาน ค่าพารามิเตอร์ของน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดลดลงคือ ค่าพี่เอชลดลงจาก 9.5 เป็น 7.1 ค่าบีโอดีลดลงจาก 20 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็น 5.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าซีโอดีลดลงจาก 995 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็น 46.6 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าของแข็งแขวนลอยลดลงจาก 54 มิลลิกรัมต่อลิตรเป็น 14 มิลลิกรัมต่อลิตร และค่าของแข็งละลายน้ำลดลงจาก 1,985 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็น 1,495 มิลลิกรัมต่อลิตร (2) การบำบัดน้ำเสียจากโรงงาน พบว่า ประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียของหญ้าแฝกสายพันธุ์สุราษฎร์ธานีในโรงงานผลิตปูเทียมแช่เยือกแข็งด้วยเทคนิคแท่นลอยน้ำของ ค่าพีเอช ค่าบี โอดี ค่าซีโอดี ค่าของแข็งแขวนลอยและค่าของแข็งละลายน้ำ คิดเป็นร้อยละ 81.67 95.32 94.53 44.32 และ 26.73 ตามลำดับหญ้าแฝกสายพันธุ์สุราษฎร์ธานีสามารถดูดซับธาตุอาหารที่มีอยู่ในน้ำเสียที่มาจากการย่อยสลายสารอินทรีย์เพื่อนำไปใช้ในการเจริญเคิบโต มีความยาวรากเพิ่มขึ้นจาก 1.5 เซนติเมตร เป็น 93 เซนติมตร ดังนั้นหญ้าแฝกสายพันธุ์สุราษฎร์ชานีมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตปูเทียมแช่เยือกแข็งด้วยเทคนิคแท่นลอยน้ำth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectหญ้าแฝกth_TH
dc.subjectการอนุรักษ์น้ำth_TH
dc.subjectของเสียจากโรงงานth_TH
dc.subjectการบำบัดth_TH
dc.titleประสิทธิภาพของหญ้าแฝกที่ปลูกด้วยเทคนิคแท่นลอยน้ำในการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานผลิตปูเทียมแช่เยือกแข็งth_TH
dc.title.alternativeEfficiency of vetiver grass cultivated with floating platform technique in wastewater treatment from imitation crab stick industrial factoryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are (1) to study the parameters of wastewater treated with floating platform technique, and (2) to study the efficiency of wastewater treatment of Surat Thani vetiver grass species in the imitation crab stick industrial factory with floating platform technique. The research conducted by the 3 weeks old the Surat Thani vetiver grass. The experiment was conducted into 2 phases: Phase 1, the initial experiment for 1 month on the round experimental pond diameter 0.70 meter and height 0.30 meter, containing 100 liters of wastewater and consisting of a control unit and 3 ponds planted with vetiver grass. It was found that Surat Thani vetiver grass was able to grow and treat wastewater. Phase 2 was an experiment in the factory's wastewater treatment pond for 3 months. Anyhow, Pond 1 and 2 have a volume of 21,000 liters, planted with 12,600 vetiver grasses on 4 floating platforms, 1.08 meters wide 4.12 meters long. The 3rd pond has a volume of 27,825 liters and planted 16,695 vetiver grasses on 4 floating platforms, 1.08 meters wide, 4.12 meters long, with an average water inflow rate of 60 cubic meters per day. The results showed that (1) the parameters of the treated wastewater decreased; the pH decreased from 9.5 to 7.1. The BOD decreased from 20 to 5.5 milligrams per liter. The COD decreased from 995 to 46.6 milligrams per liter. Suspended solids decreased from 54 to 14 milligrams per liter and dissolved solids decreased from 1,985 to 1,495 milligrams per liter. (2) Wastewater treatment efficiency of Surat Thani vetiver grass species in the imitation crab stick industrial factory with floating platform technique of pH, BOD, COD, suspended solids and dissolved solids accounted for 81.67 percent, 95.32, 94.53, 44.32 and 26.73, respectively. Surat Thani vetiver grass species could absorb the nutrients contained in the wastewater from the decomposing organic matter and utilize it for growth. The root length was increased from 1.5 to 93 centimeters. Therefore, the Surat Thani vetiver grass effectively treated wastewater in the imitation crab stick industrial factory with the floating platform techniqueen_US
dc.contributor.coadvisorกุลธิดา บรรจงศิริth_TH
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons