Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา ศรีสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorฉัตรกมล บุญทอง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-06-20T03:00:09Z-
dc.date.available2024-06-20T03:00:09Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12277-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างรูปแบบการจัดการการดูแลผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน โรงพยาบาลกระบี่ และ 2) ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการการดูแลผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่าง เลือกแบบเจาะจง มี 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) สำหรับการสนทนากลุ่มเพื่อสร้างรูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน คือ ทีมสหสาขาวิชาชีพ 11 คน ประกอบด้วย ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู พยาบาลวิชาชีพ นักกายภาพบำบัด และนักโภชนากร และกลุ่มผู้รับบริการ 5 คน และ 2) สำหรับประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการการดูแลผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญ 5 คน และพยาบาลวิชาชีพ 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) ประเด็นแนวคำถามการสนทนากลุ่ม และ 2) แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการการดูแลผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน ค่าความตรงเชิงเนื้อหาอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการจัดการการดูแลผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน โดยประยุกต์แนวคิดการจัดการความรู้เซกิ โมเดล มีการสร้าง 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) ขั้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2) ขั้นการสกัดความรู้ 3) ขั้นการควบรวมความรู้ และ 4) ขั้นการผนึกฝังความรู้ ได้รูปแบบการจัดการการดูแลผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในดังนี้ (1) การประเมินสภาพแรกรับ (2) การเตรียมก่อนผ่าตัด (3) การดูแลระยะหลังผ่าตัด 24-72 ชั่วโมง และ (4) การฟื้นฟูสภาพและการวางแผนจําหน่าย และ 2) ความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการการดูแลผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน พบว่าในภาพรวมมีความเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ 87.42 และร้อยละ 94.00th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectกระดูกหักth_TH
dc.subjectการดูแลผู้ป่วยth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการการดูแลผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน โดยประยุกต์แนวคิดการจัดการความรู้โรงพยาบาลกระบี่th_TH
dc.title.alternativeThe development of a care management model for femoral fracture under internal fixation through applying knowledge management, Krabi Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis descriptive research aimed to propose a care management model for femoral fracture patients who have undergone internal fixation surgery as well as to evaluate the appropriateness of such model which was developed. Chosen with purposive sampling methods, the samples were divided into 2 groups: the first one for the focus group, was 11 members of interdisciplinary staff and 5 caregivers, and the other group. for evaluation of the appropriateness of the model was 5 experts and 10 professional nurses. The research instrument consisted of a question guide for the focus groups discussions and an evaluation forms for evaluating appropriateness of the model. The content validity index ranged from 0.67 to 1.00. The data were analyzed by descriptive statistics and content analysis. The research findings are as follows: firstly, there were 4 stage for the process of proposing a care management model for femoral fracture patients who have undergone internal fixation surgery by applying knowledge management according to the SECI model, namely: (1) initial nursing assessment, (2) preoperative preparation, (3) post-operative care for a period of 24 to 72 hours, and (4) rehabilitation and discharge readiness; secondly, the experts and professional nurses who evaluated the model deemed the said method was overall 87.42 percent and 94 percent appropriateen_US
dc.contributor.coadvisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวยth_TH
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons