Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12288
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริรัตน์ สุวณิชย์เจริญth_TH
dc.contributor.authorปาหนัน อินอำพันธ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-06-20T06:46:33Z-
dc.date.available2024-06-20T06:46:33Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12288-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (สาธาณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต (2) เปรียบเทียบการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต และ (3) เสนอแนะการดำเนินงานควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ประเภทกิจการล้งมะพร้าว ในอำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ประชากรคือ เจ้าพนักงานสาธารณสุข เจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากเจ้าพนักงานท้องถิ่นและผู้ประกอบการกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ จำนวน 517 คน กลุ่มตัวอย่างคำนวณ โดยใช้สูตรของแดเนียล และสุ่มตัวอย่างแบบง่ายได้จำนวน 216 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ 0.96 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทคสอบแมนน์ - วิทนีย์ ยู ผลการวิเคราะห์พบว่า (1) การรับรู้ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการดำเนินงานภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางและด้านผลผลิตของการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก (2) ผลการเปรียบเทียบการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียระหว่างกลุ่มผู้ประกอบการกิจการ กับกลุ่มเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานควบคุมกิจการ พบว่า ด้านบริบทในการดำเนินงาน ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการดำเนินงาน มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนด้านผลผลิตของการดำเนินงานไม่มีความแตกต่าง และ (3) กลุ่มเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานควบคุมกิจการเสนอแนะให้การดำเนินงานควรมีการบูรณาการร่วมกันมากขึ้น สำหรับกลุ่มผู้ประกอบการกิจการเสนอแนะให้มีการจัดการด้านงบประมาณในการดำเนินงาน รวมถึงด้านความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดำเนินงานที่ถูกต้องเหมาะสมตามมาตรฐานที่กำหนดไว้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectอาชีพเสี่ยงอันตรายth_TH
dc.subjectมะพร้าว--การผลิตth_TH
dc.subjectมะพร้าว--การแปรรูปth_TH
dc.subjectมะพร้าว--ไทย--สมุทรสงครามth_TH
dc.titleการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินงานควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ประเภทกิจการล้งมะพร้าวในอำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงครามth_TH
dc.title.alternativePerceived operations of businesses hazardous to human health of coconut processing houses by stakeholders in Amphawa District, Samut Songkhram Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this survey research were to: (1) identify stakeholders' perceptions of context, inputs, processes and productivity; (2) compare stakeholders’ perceptions of context, inputs, processes and productivity; and (3) make recommendations for improving the operations of businesses hazardous to human health of coconut processing houses in Amphawa district, Samut Songkhram province. The study was conducted in a sample of 216 health and local competent officials, persons appointed by local officials, and entrepreneurs of businesses hazardous to human health, randomly selected from 517 of such people based on Daniel's formula for sample size calculation. Data were collected using a questionnaire with the reliability value of 0.96 and then analyzed to determine percentages, means, standard deviations and Mann-Whitney U test. The results revealed that, among all respondents: (1) their overall perceptions towards the context, inputs, processes were at a moderate level, and toward productivity at a high level; (2) comparatively, entrepreneurs’ perceptions (regarding context, inputs, processes) were significantly different from those of health/local officials (p = 0.01), while their perceptions on productivity were not different; and (3) the health/local officials suggested that the control operations should be more integrated, while the entrepreneurs suggested more funding or operational budget for enhancing the knowledge and understanding about correct operations according to the established standards.en_US
dc.contributor.coadvisorสมโภช รติโอฬารth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons