Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12289
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารยา ประเสริฐชัย | th_TH |
dc.contributor.author | ฐิติมา ไกรรินทร์ | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-20T06:54:21Z | - |
dc.date.available | 2024-06-20T06:54:21Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12289 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจัยคุณลักษณะส่วนบุคคลและการรับรู้บริการกับความพึงพอใจต่อบริการ และ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคลและการรับรู้บริการกับความพึงพอใจของบุคลากรทางการแพทย์ต่อบริการกลุ่มห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ด้านควบคุมโรคตามมาตรฐาน ISO 15189 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา ประชากรที่ศึกษา คือ บุคลากรทางการแพทย์ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลเครือข่ายในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ประกอบด้วย จังหวัดสงขลา พัทลุง ตรัง สตูล ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส จำนวน 120 คน โดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดคสอบความสัมพันธ์แบบไคสแควร์และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า (1) บุคลากรทางการแพทย์ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 41.81 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี ปฏิบัติงานตำแหน่งนักเทคนิคการแพทย์ มีประสบการณ์ในการทำงาน 21 ปีขึ้นไป โดยมีประสบการณ์ในการทำงานเฉลี่ย 17.14 ปี ส่วนใหญ่ใช้บริการการตรวจหาปริมาณเชื้อเอชไอวีในกระแสเลือดความถี่ในการใช้บริการ จำนวน 1 ครั้งต่อเดือน การรับรู้บริการและความพึงพอใจต่อบริการอยู่ในระดับมากที่สุด และ (2) ปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของบุคลากรทางการแพทย์ต่อบริการกลุ่มห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ด้านควบคุมโรคตามมาตรฐาน IS0 15189 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การรับรู้บริการ มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของบุคลากรทางการแพทย์ต่อบริการกลุ่มห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ด้านควบคุมโรคตามมาตร ฐาน ISO 15189สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | บุคลากรทางการแพทย์--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | การทำงาน | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของบุคลากรทางการแพทย์ต่อบริการของกลุ่มห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ด้านควบคุมโรคตามมาตรฐาน ISO 15189 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to medical staff satisfaction with medical laboratory services (ISO 15189: Disease Control) under the Office of Disease Prevention and Control 12 Songkhla Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this survey research were: (1) to investigate medical staff’s personal characteristics, service perception and service satisfaction; and (2) to determine the relationships between personal characteristics as well as service perception of medical personnel and satisfaction with Medical Laboratory Services on ISO 15189 of Disease Control under the Office of Disease Prevention and Control 12 Songkhla Province (ODPC-12 Songkhla). The study involved 120 medical staff working in network hospitals under the supervision of seven lower southern provinces, comprising Songkhla, Phatthalung, Trang, Satun, Yala, Pattani and Narathiwat. The research instrument for data collection was a questionnaire with a validity value of 0.92; data were analyzed using statistics, including percentage, mean, standard deviation, Chi-square test, and Pearson’s correlation. The results indicated that: (1) most of the respondents were females with a mean age of 41.81 years, graduated with a bachelor’s degree, worked as medical technologists, had at least 21 years of working experience (mean, 17.14 years); most of them used HIV viral load testing service once a month; and their service perception and satisfaction with the service were at the highest level; and (2) in terms of personal characteristics, it was found that gender and service perception were significantly related to medical staff satisfaction with ODPC-12 Songkhla’s Medical Laboratory Services on ISO 15189 of Disease Control (P < 0.05 and < 0.01, respectively). | en_US |
dc.contributor.coadvisor | พาณี สีตกะลิน | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License