Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12314
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | รชพร จันทร์สว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ดิณห์ ศุภสมุทร, 2505- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-25T07:29:36Z | - |
dc.date.available | 2024-06-25T07:29:36Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12314 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.(บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านการบินวัฒนธรรมความปลอดภัย และการจัดการความเครียดของลูกเรือสายการบินประจำมีกำหนดในช่วงสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2) วิเคราะห์อิทธิพลของการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านการบินต่อการจัดการความเครียดของลูกเรือสายการบินประจำมีกำหนด 3) วิเคราะห์อิทธิพลของวัฒนธรรมความปลอดภัยต่อการจัดการความเครียดของลูกเรือสายการบินประจำมีกำหนด และ 4) วิเคราะห์อิทธิพลของการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านการบินต่อการจัดการความเครียดของลูกเรือสายการบินประจำมีกำหนดในช่วงสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ผ่านวัฒนธรรมความปลอดภัย การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือลูกเรือสายการบินประจำมีกำหนด 5 สายการบิน จำนวน 4,294 คน คำนวณ ขนาดตัวอย่างตามสูตรของเครจซี่และมอร์แกน (1970) ได้ 353 ตัวอย่าง และได้แบบสอบถามสมบูรณ์ 336 ตัวอย่าง และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิเคราะห์ พบว่า 1) ระดับความคิดเห็นต่อการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านการบิน วัฒนธรรมความปลอดภัย โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนการจัดการความเครียดโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) การบริหารทรัพยากรบุคคลด้านการบินมีอิทธิพลต่อการจัดการความเครียด 3) วัฒนธรรมความปลอดภัยมีอิทธิพลต่อการจัดการความเครียด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 4) การบริหารทรัพยากรบุคคลด้านการบินมีอิทธิพลกับการจัดการความเครียดโดยมีวัฒนธรรมความปลอดภัยเป็นตัวแปรส่งผ่านแบบบางส่วน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 ตัวแปรทั้งสองร่วมกันพยากรณ์ระดับการจัดการความเครียดของลูกเรือสาย การบินประจำมีกำหนดในช่วงสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ร้อยละ 24.40 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สายการบิน--การบริหารงานบุคคล | th_TH |
dc.subject | ลูกเรือ--ความเครียดในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | การระบาดใหญ่ของโควิด-19, ค.ศ. 2020- | th_TH |
dc.title | อิทธิพลของการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านการบินและวัฒนธรรมความปลอดภัยต่อการจัดการความเครียดของลูกเรือสายการบินประจำมีกำหนด ในช่วงสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 | th_TH |
dc.title.alternative | Influence of crew resource management and safety culture toward stress management of cabin crew of scheduled airlines during COVID-19 situation | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการการท่องเที่ยวและการขนส่งทางอากาศ) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research has four objectives: 1) to study the opinions of crew resource management, safety culture and stress management among cabin crews in scheduled airlines during COVID 19 situation, 2) to analyze the influence of crew resource management on stress management among cabin crews in the scheduled airlines during COVID 19 situation, and 3) to analyze the influence of safety culture on stress management among cabin crews in scheduled airlines during the COVID-19 situation and 4) to analyze the influence of crew resource management on stress management among cabin crews in scheduled airlines during COVID-19 situation with safety culture as a mediator. This exploratory study assessed the opinions of a total population of 4,294 crew members from five operating scheduled airlines and 353 samples were calculated according to the Krejci and Morgan formula (1970) and only 336 completed questionnaires were obtained. The analysis used descriptive statistics such as percentage, mean and standard deviation and tested the hypothesis by multiple regression analysis. The analysis findings revealed that 1) the opinion level towards the overall element of CRM and safety culture was at the highest level, and a general aspect of stress management was at a high level. 2) The CRM influenced stress management. 3) The safety culture influenced stress management at the statistically significant level of 0.01, and 4) CRM influenced stress management with safety culture as a partial transmission variable at the statistically significant level of 0.01. Both variables could predict the stress management level of crew members in the scheduled airlines during the COVID-19 pandemic by 24.40 percent | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 23.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License