Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12321
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมทรง อินสว่าง | th_TH |
dc.contributor.author | มนตรี เหลืองอิงคะสุต, 2505- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-26T02:19:35Z | - |
dc.date.available | 2024-06-26T02:19:35Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12321 | en_US |
dc.description.abstract | อุตสาหกรรมเหมืองแร่เป็นอุตสาหกรรมประเภทหนึ่งที่ก่อให้เกิดหรือส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสั่งมีชีวิตต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาที่เกิดจากน้ำทิ้งหรือ Acid Mine Drainage (AMID) ซึ่งเป็นผลจากการทำเหมืองทำให้เกิดปฏิกิริยาออกซิไดซ์ของแร่ซัลไฟด์กับออกซิเจน น้ำและแบคทีเรีย เป็นผลให้น้ำที่ปล่อยออกจากเหมืองมีสภาพความเป็นกรดสูง มีปริมาณซัลเฟตและโลหะหนักปนเปื้อนในน้ำสูง ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการบำบัดน้ำทิ้งดังกล่าวก่อนปล่อยลงสู่แหลงน้ำธรรมชาดิ การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพวิธีการบำบัดน้ำทิ้งแบบพลาสซีบทรีทเมนท์ ที่ใช้ในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ซึ่งกระบวนการบำบัดนี้ ได้มีการศึกษาวิจัย และเริ่มพัฒนานำระบบนี้มาใช้ เนื่องจากมีต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่ต่ำ ง่ายต่อการบำรุงรักษา สามารถนำไปติดตั้งในพื้นที่ที่ห่างไกลทุรกันดาร โดยระบบบำบัดแบบพาสซีบ ทรีทเมนท์ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ แบบที่ใช้ออกซิเจน (aerobic) และแบบที่ไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic) สำหรับกรศึกษาครั้งนี้จะกล่าวถึงวิธีการหรือระบบบำบัด 4 ระบบ ได้แก่ Constructed Wetlands (Aerobic Wetlands และ Anaerobic Wetlands), Anoxic Limestone Drains (ALDs), Successive Allalinity Producing Systems (SAPs) และ Open Limestone Channels (OLDs) โดยแต่ละระบบมีคุณสมบัติ ประสิทธิภาพ และค่าใช้จ่ายที่แตกต่างกันผลงานที่นำมาสังเคราะห์ในครั้งนี้เป็นตำรา เอกสารทางวิชาการ งานวิจัย และวารสารเผยแพร่ จำนวนทั้งสิ้น 24 ผลงาน ซึ่งเป็นผลงานที่ผยแพร่ในต่างประเทศ ครอบคลุม ทฤษฎี ข้อมูลวิชาการ และการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ Acid Mine Dringge และระบบบำบัดแบบพาสซีบทรีทเมนท์ ประสิทธิภาพของระบบ ค่าออกแบบติดตั้งระบบหรือค่าก่อสร้าง และค่าใช้จ่ายในการบำบัดของแต่ละวิธี ลักษณะของค่าสถิติในผลงานที่นำมาทำการสังเคราะห์เป็นสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และสัดส่วน ผลการศึกษาเมื่อเปรียบเทียบลักษณคุณสมบัติ ค่าใช้จ่ายในการบำบัด และค่าลงทุนก่อสร้างของแต่ละระบบ พบว่าระบบ Anoxic Limestone Drains (AID:) และ Open Limestone Channels (OLCs) เป็นระบบที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่ามากที่สุด ตามลำคับ โดยทั้ง 2 ระบบสามารถรองรับ Acid Mine Drainage ที่มีคุณสมบัติเป็นกรค มีค่าการละลายของออกซิเจนต่ำถึงสูง และความเข้มข้นการปนเปื้อนของโลหะสูง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมเหมืองแร่ | th_TH |
dc.subject | น้ำเสีย--การบำบัด | th_TH |
dc.subject | น้ำเสีย--การบำบัด--การกำจัดซัลเฟต | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การประเมินประสิทธิภาพวิธีการบำบัดน้ำทิ้งแบบพาสซีบ ทรีทเมนท์ ที่ใช้ในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluating of the potential passive treatments of Acid Mine Drainage (AMD) in mining industry | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_86189.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License