Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12334
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา ผลประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเนตร์นภา อินทร์รองพลth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-06-26T06:59:05Z-
dc.date.available2024-06-26T06:59:05Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12334en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ปวยเอดส์ที่เข้ารับยาต้านไวรัสจังหวัดชัยนาท มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณภาพชีวิตผู้ติดเชื้อเอชไอวีผู้ป่วยเอดส์ที่เข้ารับยาดต้านไวรัสในโรงพยาบาล ของจังหวัดชัยนาท และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยด้านสุขภาพและปัจจัยด้าน การได้รับการดูแล กับคุณภาพชีวิตผู้ติดเชื้อเอชไอวีผู้ป่วยเอดส์ที่เข้ารับยาต้านไวรัส การศึกษาใช้รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนา ทำการศึกษาในกลุ่มประชากรผู้ติดเชื้อเอชไอวีผู้ป่วยเอดส์ ที่มารับบริการยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลของจังหวัดชัยนาท จำนวน 150 ราย ในช่วงเดือน มีนาคม - เมษายน 2554 โดยใช้เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล แบบสอบถามข้อมูลด้านสุขภาพ แบบสอบถามข้อมูลด้าน การได้รับการดูแล และแบบสอบถามข้อมูลด้านคุณภาพชีวิต ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.37 ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวนร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงวิเคราะห์ ได้แก่ ทดสอบฟิชเชอร์ เอ็กซ์แซค และการทดสอบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) ผู้ติดเชื้อเอชไอวีผู้ปวยเอดส์มีระดับคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 81.3 เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า คุณภาพชีวิตด้านจิตใจ อยู่ในระดับดี และมีค่าคะแนนสูงสูด รองลงมา ได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านสุขภาพกาย ส่วนคุณภาพชีวิตในระดับไม่ดี และมีค่าคะแนนสูงสุด ได้แก่ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต ได้แก่ อาชีพ มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีผู้ปวยเอดส์ ที่มารับบริการยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลของจังหวัดชัยนาท อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ระยะเวลาการติดเชื้อเอชไอวีมีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพชีวิตของผู้ดิดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ที่มารับบริการยาต้านไวรัส ในโรงพยาบาลของจังหวัดชัยนาท อย่างมีนัยสำคัญทางสถิดิที่ระดับ 1.05 และการได้รับการดูแลจากบุคคลภายในครอบครัวมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ที่มารับบริการยาต้านไวรัสในโรงพยาบาล ของจังหวัดชัยนาท อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะคือ ควรสนับสนุนให้สมาชิกในครอบครัวได้มีโอกาสเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ในด้านต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิต และส่งผลต่อการมีชีวิตที่ยืนยาวของผู้ดติดเชื้อเอ็ชไอวีผู้ป่วยเอดส์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้ติดเชื้อเอชไอวี--การดูแลth_TH
dc.subjectผู้ติดเชื้อเอชไอวี--ไทย--ชัยนาทth_TH
dc.subjectโรคเอดส์--ผู้ป่วย--การดูแลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ที่เข้ารับยาต้านไวรัสจังหวัดชัยนาทth_TH
dc.title.alternativeQuality of life among persons with HIV/AIDS receiving anti-retrovirus treatment in Chainat provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_125294.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons