Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12340
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลินth_TH
dc.contributor.authorนันท์นภัส ศิริสราญลักษณ์, 2504-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-06-26T07:44:00Z-
dc.date.available2024-06-26T07:44:00Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12340en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงก่อนใช้รูปแบบการจัดบริการสุขภาพ (2) ศึกษาความรู้ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองของผู้ป่วยความดัน โลหิตสูงหลังการใช้รูปแบบการจัดบริการสุขภาพ และ (3) เปรียบเทียบความรู้ และ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงก่อนและหลังการใช้รูปแบบการจัดการสุขภาพ ประชากร คือ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหาดกรวด อำเภอเมือง จังหวัดอุตรคิตถ์ จำนวน 102 คน โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง คือ 1) ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีระดับความดันมากกว่า 140/190 มิลลิเมตรปรอท 2) ผู้ป่วยที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ 3) ผู้ป่วยที่มารับยาไม่สม่ำเสมอ และ 4) ผู้ป่วยที่ผิดนัด จำนวน 40 คน ที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ มีระดับความดันมากกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอทที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ และไม่มารับยาสม่ำเสมอ และที่ผิดนัดการตรวจมากกว่า 3 ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม และรูปแบบการจัดบริการสุขภาพของผู้ป่วยความดัน โลหิตสูง แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นที่ระคับ 0.78 ระยะเวลาที่ศึกษาตั้งเต่เดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมีนาคม 2554 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Paired t-test ผลการวิจัย พบว่า (1) ก่อนใช้รูปแบบการจัดบริการสุขภาพความรู้ และ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงด้านการควบคุมอาหาร ด้านการออกกำลังกาย ด้านการดูแลสุขภาพทั่วไป และด้านการใช้ยารักษาโรค อยู่ในระดับปานกลาง (2) หลังการใช้รูปแบบการจัดบริการสุขภาพความรู้ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพชุมชนด้วยตนเองด้านการควบคุมอาหาร ด้านการดูแลสุขภาพทั่วไป และการใช้ยารักษาโรค อยู่ในระดับสูง ส่วนด้านการออกกำลังกาย อยู่ในระดับปานกลาง (3) เมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้รูปแบบการจัดบริการสุขภาพความรู้ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ด้านการควบคุมอาหาร ด้านการดูแลสุขภาพทั่วไป และด้านการใช้ยารักษาโรคเพิ่มขึ้นจากระดับปานกลางเป็นระดับมาก ส่วนด้านการออกกำลังกายไม่มีการเปลี่ยนแปลง คือ อยู่ในระดับปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความดันเลือดสูง--ผู้ป่วย--ไทย--อุตรดิตถ์th_TH
dc.titleการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงโดยใช้รูปแบบการจัดบริการสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหาดกรวด อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์th_TH
dc.title.alternativeHypertionsion patient's care by using the Primary Health Care Model of Tambon Hadkruad Health Promotion Hospital, Ampur Muang Uttaradit Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_125850.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons