Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12345
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนุสรา ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุบลวรรณ อุณหสุวรรณ, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-06-27T02:05:09Z-
dc.date.available2024-06-27T02:05:09Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12345-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด และ 2) ศึกษาผลของรูปแบบที่พัฒนาขึ้นต่อพฤติกรรมในการป้องกันการติดเชื้อ ความพึงพอใจในบริการพยาบาลของผู้ดูแล และอัตราการกลับเข้ารับการรักษาซ้ำในโรงพยาบาลของผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด กลุ่มตัวอย่างในระยะที่ 1 การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา และระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบ เป็นผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่เข้ารับการรักษาด้วยเคมีบำบัดโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จำนวน 8 คน กลุ่มตัวอย่างในระยะที่ 3 การศึกษาผลของการใช้รูปแบบที่พัฒนาขึ้น เป็นผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งจำนวน 30 คน และ 3) ผู้ดูแลของผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็ง จำนวน 30 คน ที่ได้จากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) ประเด็นการสนทนากลุ่ม 2) รูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการป้องกันการติดเชื้อของผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดที่พัฒนาขึ้น 3) แบบสอบถามพฤติกรรมในการป้องกันการติดเชื้อของผู้ดูแล และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจในบริการพยาบาลของผู้ดูแล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน โดยแบบสอบถามมีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.91 และ 0.93 ตามลำดับ และมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.87 และ 0.93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบที สถิติวิลคอกซอลซายแรงค์ และสถิติฟิชเชอร์แอกแซกท์ ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการป้องกันการติดเชื้อในผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดได้พัฒนาขึ้นจากการมีส่วนร่วมของผู้ดูแล ประกอบด้วย แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลในการป้องกันการติดเชื้อของผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งอย่างเป็นระบบตั้งแต่แรกรับจนกระทั่งจำหน่าย การสอนให้ความรู้ สาธิต สาธิตย้อนกลับ และฝึกทักษะที่จำเป็น และ 2) ผู้ดูแลมีพฤติกรรมในการป้องกันการติดเชื้อและมีความพึงพอใจในบริการพยาบาลทั้งโดยรวมและรายด้านหลังการใช้รูปแบบที่พัฒนาขึ้นสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <. 05) อัตราการกลับเข้ารับการรักษาซ้ำในโรงพยาบาลของผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งต่ำกว่าก่อนการใช้รูปแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <. 05)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความพอใจของผู้ป่วยth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลต่อพฤติกรรมในการป้องกัน การติดเชื้อ ความพึงพอใจในบริการพยาบาลของผู้ดูแลและอัตราการกลับเข้ารับการรักษาซ้ำในโรงพยาบาลของผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดth_TH
dc.title.alternativeThe development of a caregivers participation model on infection prevention behaviors, satisfaction with nursing services and re-admission rates of pediatric cancer patients receiving chemotherapyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were to 1) develop a caregiver participation model for caregivers of pediatric cancer patients receiving chemotherapy, and 2) to study the effects of the caregiver participation model on infection prevention behaviors, satisfaction with nursing services and re-admission rates of pediatric cancer patients receiving chemotherapy. The purposive sample of this study were divided into 3 phases. Participants of the first phase (identifying problem analysis), and the second phase (developing a caregiver participation model) were 8 caregivers of pediatric cancer patients at Sunpasitthiprasong Hospital. Participants of the third phase (evaluating the developed model) were 30 pediatric cancer patients and 30 caregivers of pediatric cancer patients. The research tools consisted of 1) group discussion issues, 2) the developed caregiver participation model for prevention of infection among pediatric cancer patients receiving chemotherapy, 3) a questionnaire on caregiver infection prevention behavior, and a questionnaire on caregivers’ satisfaction with nursing service. Five experts verified content validity of all the research tools. The content validity indexes of both questionnaires were 0.91 and 0.93. Cronbach's alpha coefficients of both questionnaires were 0.87, was 0.93. Data were analyzed by descriptive statistics, Paired t-test, Wilcoxon matched pairs signed-ranks test, and Fisher's Exact test. The research findings were as follows. Firstly, the caregiver participation model for caregivers of pediatric cancer patients receiving chemotherapy consisted of a guideline for caregiver participation in infection prevention systematically from admission to discharge, teaching, demonstration, return demonstration, and essential skills training. Secondly, caregivers reported that their overall and in each aspect of infection prevention behaviors and their service satisfaction after implementing the developed model was higher than before implementing the developed model (p<.05). Lastly, pediatric cancer patients’ readmission rates were statistically lower than before implementing the developed model (p<.05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม28.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons